Browsing GSDE: Theses by Issue Date
Now showing items 1-20 of 69
-
ผลของอัตราดอกเบี้ยต่ออัตราแลกเปลี่ยน : ภายหลังการใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2002); -
ผลกระทบจากความผันผวนของการค้าและการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศกับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009); -
การเลือกปฏิบัติและความแตกต่างของค่าจ้างระหว่างชายและหญิง : กรณีลูกจ้างเอกชนในวิชาชีพชั้นสูง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ความสูญเสียทางเศรษฐกิจของนโยบายกำหนดราคาพลังงานทดแทน : กรณีน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (บี0 บี2 บี3) และไบโอดีเซล บี5
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรกับความอยู่ดีกินดีของคนไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012);
การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุประชากรที่คาดกว่าจะเกิดขึ้นในประเทศไทยว่ามีผลกระทบต่อความอยู่ดีกินของคนไทยหรือไม่อย่างไร เนื่องด้วยการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดและอัตราการเสียชีวิตจากระดับสูงมาสู่ระดับต่า ทำให้สัดส่วนคน วัยทำงานลดลง สวนทางกับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น หมายถึงการมีสัดส่วนผู้บริโภคมากขึ้นเมื่อเทียบกับคนวัยทางาน จึงเป็นไปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อความอยู่ดีกินดีของคนไทย การศึกษานี้ได้ประยุกต์ตัวแบบแรมซีย์เข้ากับตัวแปรด้านประชากร และทำการจำลองเหตุการณ์ว่าหากโครงสร้างปร ... -
การวางแผนการลงทุนสำหรับวัยเกษียณ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
งานวิจัยนี้เป็นการนาเสนอการวางแผนการลงทุน โดยศึกษาการจัดสรรสัดส่วนการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ สำหรับผู้ที่ต้องการวางแผนเกษียณอายุ และการจัดสรรสัดส่วนการลงทุนที่เหมาะสมกับวัยเกษียณ ซึ่งเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่พิจารณาสินทรัพย์ลงทุน 4 ประเภท ได้แก่ หุ้นสามัญ พันธบัตร เงินสด และทองคำ สาหรับการหาสัดส่วนการลงทุนที่เหมาะสมนั้นได้ใช้แบบจำลองมอนติคาร์โล (Monte Carlo simulation) ทั้งหมด 1,000 ครั้งเพื่อคัดเลือกสัดส่วนการลงทุนที่เหมาะสมที่สุดจากรูปแบบสัดส่วนการลงทุนทั้งหมด 286 แบบ -
การศึกษาความสามารถในการแข่งขันของตลาดหลักทรัพย์ไทยในอาเซียน 5
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของตลาดหลักทรัพย์ในอาเซียน 5 2) ศึกษาความสามารถในการแข่งขันของตลาดหลักทรัพย์ไทยในอาเซียน 5 และ 3)กำหนดกลยทุธ์ในการพฒันาความสามารถในการแข่ง ขันของตลาดหลักทรัพย์ไทย -
ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบประกันสุขภาพของภาครัฐในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
ประเทศไทยมีสิทธิในการรักษาพยาบาลจากภาครัฐที่ให้ความคุ้มครองกับประชาชนอยู่ 3ระบบ คือ 1. ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ 2. ระบบประกันสังคม และ 3. ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื่องจาก 3 ระบบนี้มีหน่วยงานต้นสังกัดที่คอยดูแลและให้ความคุ้มครองกับประชาชนที่แตกต่างกัน การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาหาความเหลื่อมล้ำา ที่เกิดจากความแตกต่างกันระหว่างสิทธิรักษาพยาบาล โดยวิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำ ทั้งในเชิงข้อกำหนดและกฎระเบียบ และความเหลื่อมล้ำ ในเชิงคุณภาพของการให้บริการ -
อัตราการคงอยู่และความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
เด็กไทยจำนวนมากไม่ได้เรียนต่อ ซึ่งสะท้อนถึงความด้อยโอกาสทางการศึกษา เนื่องจากฐานะครัวเรือนที่ยากจน การวิจัยนี้ศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์โดยใช้ผลสารวจครัวเรือนซ้ำตัวอย่างของสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2553 และปี พ.ศ. 2555 จา นวน 3,376 คน (อายุ 6-17 ปี ) เพื่อศึกษาอัตราคงอยู่ของนักเรียนตามระดับ และสะท้อนการไม่บรรลุเป้าหมายระดับชาติด้านการศึกษาที่ต้องการยกค่าเฉลี่ยจำนวนปีการศึกษาเป็น 12 ปี โดยแบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน คือ วิเคราะห์สภาพจริงจากตัวบ่งชี้ และวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติโดยใช้แบบจำลองโลจิต (Logit Model) พบว่า การศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน ... -
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคและการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อจากภาคเอกชนของประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ 1) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจําลองทางเศรษฐกิจของธนาคารแห่งประเทศไทยและการคาดการณ์ อัตราเงินเฟ้อจากภาคเอกชนรวมถึงอธิบายลักษณะของความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น 2) เพื่อวิเคราะห์ ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนของผลพยากรณ์อัตราเงินเดือน จากแบบจำลองทางเศรษฐกิจของ ธนาคารแห่งประเทศไทย 3) เพื่อวิเคราะห์สัดส่วนการถ่วงน้ำหนักของสมการการคาดการณ์แบบ ปรับตัวระหว่างอัตราเงินเฟ้อในปัจจุบันและอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย ศึกษาโดยใช้ข้อมูลการพยากรณ์ อัตราเงินเฟ้อจากแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาคและการค ... -
ผลกระทบของการส่งออก การลงทุนโดยตรงและการลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศต่อการกระจายรายได้ของภาคครัวเรือนไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การส่งออก การลงทุนโดยตรงและการลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศถือว่า เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพราะเป็นปัจจัยที่ช่วยกระตุ้นภาคผลิตให้มีการขยายตัวทำให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนเจ้าของปัจจัยการผลิตต่างๆในที่สุดดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเปรียบเทียบผลกระทบของการส่งออก การลงทุนทางตรงและการลงทุนทางอ้อมจากต่างประเทศต่อการกระจายรายได้ของประเทศไทย โดยผลการศึกษาที่ได้เป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบายในการจัดสรรงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำ กัดในการกระตุ้นการส่งออก การลงทุนทางตรงและการลงทุนทางอ ... -
กลุ่มพันธมิตรสายการบิน : ผลกระทบต่อราคาค่าโดยสารและรายรับของสายการบินในเส้นทางระหว่างศูนย์กลางข้ามมหาสมุทรแปซิฟิค
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
ภายหลังการเริ่มรวมกลุ่มและก่อตั้งเป็นกลุ่มพันธมิตรสายการบินได้ เริ่มมีนักเศรษฐศาสตร์ตั้งข้อสังเกตถึงลักษณะของการต้านการแข่งขันภายในเส้นทางบิน โดยเฉพาะเส้นทางบินที่มีลักษณะบินเชื่อมระหว่างศูนย์กลางการบินของแต่ละประเทศว่า การรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรสายการบินก่อให้เกิดพฤติกรรมการผูกขาดภายในเส้นทางบินแม้ว่ากลุ่มพันธมิตรสายการบินจะเอื้อประโยชน์ให้การเดินทางระหว่างประเทศของผู้โดยสารสะดวกสบายขึ้นจึงได้เริ่มมีงานวิจัยทาการศึกษาในประเด็นของกลุ่มพันธมิตรสายการบินต่อราคาและผู้โดยสารอย่างต่อเนื่องอย่างไรก็ตามผลการวิจัยในประเด็นการรวมกลุ่มเป็นพันธมิตรสายการบินท ... -
พฤติกรรมของนักลงทุนรายย่อยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015); -
ประสิทธิภาพและปัจจัยความสำเร็จของตลาดอนุพันธ์ทางการเงินในเอเชีย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015); -
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผืนป่าทิวเขาถนนธงชัยตะวันออก
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ 1. เพื่อประเมินมูลค่าที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ของผืนป่าทิวเขาถนนธงชัยตะวันออก โดยใช้เทคนิคการสมมติเหตุการณ์ 2. เพื่อประเมินมูลค่าเชิงนันทนาการของผืนป่าทิวเขาถนนธงชัยตะวันออก โดยใช้เทคนิคต้นทุนการเดินทาง ทาการรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างประชาชนชาวไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปในกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน และนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปเที่ยวยังผืนป่าทิวเขาถนนธงชัยตะวันออก 400 คน โดยระยะเวลาในการเก็บข้อมูลแบ่งออกเป็นสองช่วงคือ ระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ... -
ประสิทธิผลของมาตรการกำกับการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของมาตรการกำกับการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยแบ่งเป็น มาตรการแคชบาลานซ์ ซึ่งใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 จนถึง 2557 และมาตรการเทรดดิ้ง อะเลิร์ท ซึ่งเริ่มใช้เมื่อต้น พ.ศ. 2558 การศึกษาได้วิเคราะห์ประเภทของหลักทรัพย์ โดยพิจารณาขนาดกลุ่มอุตสาหกรรม และระยะเวลาในการตดิ มาตรการซ้ำ และทำการวิเคราะห์ความมีประสิทธิผลของมาตรการ โดยมุ่งเน้นไปทคี่ วามสามารถในการควบคุมความผันผวนของราคาหลักทรัพย์รวมถึงอัตราการซื้อขายหมุนเวียน นอกจากนี้ ยังพิจารณาต่อเนื่องไปว่า เมื่อหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติของ ... -
ต้นทุนการทำธุรกรรมของอุตสาหกรรมกองทุนรวมใน AEC
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนการทาธุรกรรมของอุตสาหกรรมกองทุนรวม ในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AEC) โดยได้แบ่งการศึกษา ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การศึกษาปัจจัยกำหนดค่าธรรมเนียมของกองทุนรวมใน AEC และ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าธรรมเนียมกับผลการดำเนินงานและการลงทุนของกองทุน รวมใน AEC เพื่อใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมกองทุนรวมของไทยเพื่อให้ พร้อมรับมือกับการเปิดเสรีซื้อขายกองทุนรวม -
The impact of contract farming on income: a case study of northern Laos
(National Institute of Development Administration, 2016);
The purposes of this study are: (1) to explore the relevant factors that affect a household’ decision making with regard to entering into contract farming; and (2) to analyze the impact of contract farming on income per adult equivalent. The sample consisted of 1,198 observations in the northern provinces of Laos People’s Democratic Republic, namely Bokeo, Luangnamtha, and Phongsaly, during 2009 to 2013, based on secondary data obtained from the Northern Rural Infrastructure Development Sector Project (NRI). Key factors that influence ... -
การมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของผู้สูงอายุไทย กรณีศึกษาเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ และปัจจัยแวดล้อม
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);