• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องในศาลส่วนคดีนักท่องเที่ยว

by ป้อมฤดี กุมพันธ์

Title:

การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องในศาลส่วนคดีนักท่องเที่ยว

Other title(s):

Mediation prior lawsuit proceeding in tourist protecttion section

Author(s):

ป้อมฤดี กุมพันธ์

Advisor:

วริยา ล้ำเลิศ

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2014

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยมากว่า 20 ล้านคนต่อปี การ เพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยว ตามมาซึ่งปัญหาข้อพิพาทต่างๆ ส่งผลให้มีคดีนักท่องเที่ยวเข้าสู่ศาล ยุติธรรมมากมาย คดีนักท่องเที่ยวเป็นคดีที่มีลักษณะพิเศษอันเกิดจากลักษณะของคู่ความ ที่จะต้องมีคู่ความ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นนักท่องเที่ยว เพราะลักษณะพิเศษของคดีนักท่องเที่ยวจึงทาให้มีข้อจากัดในการ ดาเนินคดีหลายประการ เช่นข้อจากัดด้านการสื่อสาร ข้อจากัดเรื่องระยะเวลาพานักของนักท่องเที่ยว เป็นต้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวศาลยุติธรรมจึงเกิดนโยบายเปิดส่วนคดีนักท่องเที่ยวในศาลยุติธรรมอัน ตั้งอยู่ ณ แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว ภายใต้แนวความคิดการจัดระบบงานคดี ให้มีความเหมาะสมแก่รูปคดี โดยส่วนคดีนักท่องเที่ยวมีนโยบายอานวยความยุติธรรมให้แก่ นักท่องเที่ยวโดยใช้วิธีการระงับข้อพิพาททางเลือกด้วยวิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดี ซึ่งการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องเป็นวิธีการบริหารงานคดีเพื่อระงับข้อพิพาทภายใต้หลัก สากล มุ่งระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธีและนาไมตรีกลับสู่คู่กรณีอย่างแท้จริงและทาให้ข้อพิพาทระงับลง อย่างรวดเร็ว ต่างกับการดาเนินกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักหรือวิธีการแบบปฏิปักษ์ ที่มีการ ดาเนินกระบวนการหลายขั้นตอน จาต้องใช้ระยะเวลาพอสมควร บางคดีอาจใช้เวลานานหลายเดือน หรือหลายปี การดาเนินกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักจึงเป็นวิธีการที่ไม่เหมาะแก่การระงับข้อ พิพาทในคดีนักท่องเที่ยว ดังนั้นการนาวิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องมาใช้เพื่อระงับข้อพิพาทใน คดีนักท่องเที่ยวจึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในปัจจุบัน แต่เนื่องจากข้อกาหนดว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทยังมิได้กาหนดครอบคลุมถึงการไกล่ เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องในคดีนักท่องเที่ยว จึงทาให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องในศาลส่วนคดี นักท่องเที่ยวยังประสบปัญหาหลายประการ เช่นปัญหาเรื่องคุณสมบัติของผู้ไกล่เกลี่ย ปัญหาเรื่อง กระบวนการไกล่เกลี่ย และปัญหาเรื่องสภาพบังคับทางกฎหมาย เป็นต้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้เขียนจึงทาการศึกษาวิเคราะห์ในเรื่องการดาเนินกระบวนการ คุณสมบัติของผู้ไกล่เกลี่ย ตลอดจน ข้อตกลงที่ได้จากการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องในศาลส่วนคดีนักท่องเที่ยว จนเกิดเป็นบทสรุปและ ข้อเสนอแนะถึงแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยการเพิ่มเติมข้อกาหนดซึ่งใช้บังคับกับการไกล่เกลี่ยข้อ พิพาทในปัจจุบัน เพื่อให้ข้อกาหนดดังกล่าวเหมาะสมกับรูปคดีและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม อันจะ ทาให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องในศาลส่วนคดีนักท่องเที่ยวประสบความสำเร็จยิ่งขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557

Subject(s):

การไกล่เกลี่ย
การระงับข้อพิพาท

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

127 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Rights holder(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3202
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b185244.pdf ( 1,875.94 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [163]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×