• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ : กรณีศึกษา พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม

by ณัฐวัฒน์ โต๊ะงาม

Title:

ปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ : กรณีศึกษา พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม

Other title(s):

Factors affecting the wetland environment in a ramsar site : a case study of Don Hoi Lord, Samutsongkram

Author(s):

ณัฐวัฒน์ โต๊ะงาม

Advisor:

จุฑารัตน์ ชมพันธุ์

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2014

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคหลัก คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปญหาสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุมน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งเปนพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสําคัญระหวางประเทศ หรือแรมซารไซต (Ramsar Site) 2) เพื่อวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุ่มน้ำสําคัญระหวางประเทศ ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม และความสัมพันธของแตละปจจัย คือ แรงขับเคลื่อน แรงกดดัน สถานการณ ผลกระทบ และการตอบสนอง 3) เพื่อนําผลการศึกษาของปจจัยที่สงผลตอสิ่งแวดลอมพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงครามไปสูขอเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาตามแนวทางการพัฒนาที่เหมาะสมอยางยั่งยืนตอไปการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาเฉพาะในพื้นที่ของ 4 ตําบล คือ ตําบลบางจะเกร็ง ตําบลแหลมใหญ ตําบลบางแกว ตําบลคลองโคน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ที่ประกาศเปนเขตพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสําคัญระหวางประเทศ จากการศึกษา พบวา ปจจัยเชิงลบที่เปนจุดเริ่มตนสําคัญของสภาพปญหาสิ่งแวดลอมพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด คือ ปจจัยแรงขับเคลื่อน (Drivers) ประกอบดวย 1) การเติบโตทางเศรษฐกิจบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด โดยการเพิ่มขึ้นของจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมบริเวณรอบๆพื้นที่ และประมงเชิงพาณิชย 2) การคอยๆเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรในพื้นที่และประชากรแฝง 3) การเติบโตของธุรกิจทองเที่ยว 4) การสรางเขื่อนขนาดใหญ สิ่งเหลานี้เปนตนเหตุใหเกิดปจจัยแรงกดดัน (Pressures) ที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด ไดแก 1) การบุกรุกปาชายเลนเพื่อเลี้ยงกุงกุลาดําจนพื้นที่ปาชายเลนลดลง พรอมกับความเสื่อมโทรมลง 2) เกิดมลภาวะ คุณภาพน้ำอยูในเกณฑ์ต่ำ คาเฉลี่ยเกินมาตรฐาน ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการนํามาใชอุปโภค - บริโภค มีปญหาการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอย การทิ้งขยะลงแมน้ำสงผลตอสัตวน้ำ 3) การใชประโยชนจากพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดเกินกวาความสมดุลตามธรรมชาติและศักยภาพของพื้นที่ แรงกดดันที่เกิดขึ้นไดนําไปสูปจจัยสถานการณ (States) สิ่งแวดลอมของพื้นที่ ดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงดานสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดในปจจุบัน เชน การกัดเซาะชายฝงมีความรุนแรงมากขึ้นในระยะ30 ปที่ผานมา การเพิ่มขึ้นของน้ำเสีย ปญหาการลดลงของปริมาณสัตวน้ำจากปญหาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งปริมาณหอยหลอดที่เปนเอกลักษณของพื้นที่ และการใชเครื่องมือประมงที่ไมเหมาะสม เกิดปรากฏการณน้ำทะเลเปลี่ยนสี หรือ “ขี้ปลาวาฬ” ที่ทําใหสัตวน้ำตายเปนจํานวนมาก 2) ดานความตระหนักถึงปญหาและคุณคาพื้นที่ชุ่มน้ำของประชาชนยังไมเพียงพอที่จะสงผลใหสถานการณดีขึ้น และ 3) นโยบาย แผนงาน มาตรการที่มีอยูในปจจุบันไมสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ ขาดการบูรณาการ จากสถานการณที่เกิดขึ้นสงผลกระทบ (Impact) ตอ 1) ระบบนิเวศโดยรวมของพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดเสื่อมโทรม 2) การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจและสังคม รายไดของชุมชนลดลงเนื่องจากปริมาณสัตวน้ำลดลง เกิดความขัดแยงจากความตองการพัฒนาเศรษฐกิจกับการอนุรักษสิ่งแวดลอมในพื้นที่ชุ่มน้ำ และ 3) ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน้ำที่ลดลง ปจจัยเชิงบวกที่ชวยบรรเทาหรือลดสาเหตุของสภาพปญหาพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด คือ ปจจัยการตอบสนอง (Responses) ซึ่งการตอบสนองมีหลายระดับแตกตางกันออกไป ดังนี้ 1) อนุสัญญาแรมซาร มีประสิทธิภาพในการใชเปนเหตุเพื่อปกปองพื้นที่ชุ่มน้ำจากการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม การพัฒนาในพื้นที่ แตชุมชนยังมีความเขาใจเกี่ยวกับอนุสัญญาแรมซารที่ไมถูกตองมากนัก 2) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีประสิทธิภาพในลักษณะของการบังคับเชิงกฎหมายเกี่ยวกับการดูแลพื้นที่ชุ่มน้ำโดยตรง และสามารถลดปจจัยตนเหตุไดครอบคลุมมากที่สุด 3) นโยบาย แผน และมาตรการของหนวยงานที่เกี่ยวของ แตแผนหรือมาตรการ ที่เกิดจากแนวคิดของคนในชุมชนเอง มีประสิทธิภาพยั่งยืนกวา นโยบาย แผน และมาตรการจากหนวยงานอื่นๆ เนื่องจากชุมชนมีความเขาใจและใกลชิดกับสภาพปญหาและแนวทางแกไขที่เหมาะสมมากกวา

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557

Subject(s):

พื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทย
การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทย
พื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทย -- สมุทรสงคราม -- ดอยหอยหลอด

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

198 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3301
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b186354.pdf ( 1,152.74 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [555]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×