การรับรู้ข่าวสารการตลาดและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่เพศหญิงผ่านกูรูความงาม
Publisher
Issued Date
2014
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
139 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba186002
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วิลาสินี สงวนวงษ์ (2014). การรับรู้ข่าวสารการตลาดและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่เพศหญิงผ่านกูรูความงาม. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3317.
Title
การรับรู้ข่าวสารการตลาดและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่เพศหญิงผ่านกูรูความงาม
Alternative Title(s)
The awareness in information marketing and cosmetics purchasing decision of the new generation women by beauty guru
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 6 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาเนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอ
เครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม 2) เพื่อศึกษาการรับรู้ข่าวสารด้านการตลาดเกี่ยวกับเครื่องสำอางผ่าน
กูรูความงาม 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม 4) เพื่อศึกษาความแตกต่าง
ระหว่างลักษณะประชากรกับการรับรู้ข่าวสารการตลาดเครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม 5) เพื่อศึกษา
ความแตกต่างระหว่างลักษณะประชากรกับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรูความงาม และ 6)
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสารการตลาดกับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรู
ความงาม ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม ซึ่งได้ผสมผสานวิธีการเก็บข้อมูลและการศึกษาผลการวิจัย 2
วิธี ทั้งแบบเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษารูปแบบการนำเสนอข่าวสารเครื่องสำอางของกูรูความงาม โดยใช้
เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาข้อมูลโดยรวมของการ
รับรู้ข่าวสารการตลาดเครื่องสำอางของคนรุ่นใหม่ผ่านกูรูความงาม ซึ่งใช้การวิจัยเชิงสำรวจ
(Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือวิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากตัวอย่าง
เพศหญิง ที่มีอายุระหว่าง 17 – 34 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ใช้การสุ่มตัวอย่าง
แบบง่าย (Simple random sampling) และสถิติที่ใช้คือสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบค่าเฉลี่ยโดย
ความแปรปรวนทางเดียว (ONEWAY ANOVA) และการวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิสหความสัมพันธ์
ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)
ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะทางประชากร ซึ่งประกอบด้วย อายุ อาชีพ การศึกษา และ รายได้ มีการรับรู้ข่าวสารและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรูความงามแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้การรับรู้ข่าวสารการตลาดมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกการตัดสินใจซื้อ เครื่องสำอางผ่านกูรูความงามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ำมาก
This research has six purposes. Firstly to study the content and presentation style cosmetics beauty guru. Secondly, to study the perception of the marketing about cosmetics beauty guru. Thirdly, to study the decision to purchase cosmetic products through beauty guru. Fourth, To learn the difference between demographics and awareness of marketing cosmetics through the beauty guru. Fifth, to learn the difference between demographics and buying decisions through beauty guru. and Sixth, to study the relationship between perceptions of marketing information and purchasing decisions cosmetics through beauty guru. The research methodology was a mixed-method type, using content analysis for qualitative to study the presentation cosmetics news of beauty guru and survey research for quantitative to study the overall perception of the information cosmetics marketing of the new generation women by beauty guru. Questionnaire was distributed for collecting data from 400 respondents. The sampling group age-range was between 17-34 years. Women resides in the area of Bangkok. Multi-stage stratified random sampling was used to select the sample. Descriptive statistics, F-Test, ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were applied to analyze data.
The results of the study show that significant demographic factor which the awareness in information marketing and cosmetics purchasing factors consist of age, occupation, education and income. In addition, the result indicated that significant positive relationship between the awareness in information marketing and cosmetics purchasing. The result revealed that awareness in information marketing had a low association with the cosmetics purchasing decision.
ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะทางประชากร ซึ่งประกอบด้วย อายุ อาชีพ การศึกษา และ รายได้ มีการรับรู้ข่าวสารและการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางผ่านกูรูความงามแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้การรับรู้ข่าวสารการตลาดมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกการตัดสินใจซื้อ เครื่องสำอางผ่านกูรูความงามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับต่ำมาก
This research has six purposes. Firstly to study the content and presentation style cosmetics beauty guru. Secondly, to study the perception of the marketing about cosmetics beauty guru. Thirdly, to study the decision to purchase cosmetic products through beauty guru. Fourth, To learn the difference between demographics and awareness of marketing cosmetics through the beauty guru. Fifth, to learn the difference between demographics and buying decisions through beauty guru. and Sixth, to study the relationship between perceptions of marketing information and purchasing decisions cosmetics through beauty guru. The research methodology was a mixed-method type, using content analysis for qualitative to study the presentation cosmetics news of beauty guru and survey research for quantitative to study the overall perception of the information cosmetics marketing of the new generation women by beauty guru. Questionnaire was distributed for collecting data from 400 respondents. The sampling group age-range was between 17-34 years. Women resides in the area of Bangkok. Multi-stage stratified random sampling was used to select the sample. Descriptive statistics, F-Test, ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were applied to analyze data.
The results of the study show that significant demographic factor which the awareness in information marketing and cosmetics purchasing factors consist of age, occupation, education and income. In addition, the result indicated that significant positive relationship between the awareness in information marketing and cosmetics purchasing. The result revealed that awareness in information marketing had a low association with the cosmetics purchasing decision.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557