การเล่าเรื่องข้ามสื่อในการ์ตูนไทยของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์
Publisher
Issued Date
2014
Issued Date (B.E.)
2557
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
217 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba186010
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กาญจนพิชญ์ ศิริภูวณิชย์ (2014). การเล่าเรื่องข้ามสื่อในการ์ตูนไทยของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3339.
Title
การเล่าเรื่องข้ามสื่อในการ์ตูนไทยของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์
Alternative Title(s)
Transmedia storytelling in eakasit Thairaat's Thai comic
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้ศึกษาเรื่องการเล่าเรื่องข้ามสื่อในการ์ตูนไทยของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ โดยศึกษา
การเล่าเรื่องของสื่อหนังสือการ์ตูน และสื่อภาพยนตร์ และเปรียบเทียบความแตกต่างเพื่อวิเคราะห์
ถึงวิธีการเล่าเรื่องที่เปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของสื่อที่จะนำเสนอ จากการ์ตูนจำนวน 3 เรื่องคือ
“The 13 Quiz Show” อย่อ่านชะตาจะขาด” และ “ร้านของขวัญเพื่อคนที่คุณเกลียด”
ภาพยนตร์จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ “13 เกมสยอง” ภาพยนตร์สั้น “11 Earthcore” ภาพยนตร์สั้น “12
Begin” สี่แพร่ง ตอน “ยันต์สั่งตาย” และ หลุดสี่หลุด ตอน “ร้านของขวัญเพื่อคนที่คุณเกลียด” และ
การ์ตูนออนไลน์ คือ “14 เกมล่าอามหิต” (14 Beyond)
ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบการเล่าเรื่องของการ์ตูน และภาพยนตร์ของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ มีความใกล้เคียงกันทั้งสองสื่อ โดยสื่อที่สองจะมีการเปลี่ยนแปลงไปจากสื่อเดิมบางส่วน เพื่อให้เกิดความสมจริงและเข้ากับคุณลักษณะสื่อที่นำเสนอเรื่องเล่า โดยเฉพาะในสื่อภาพยนตร์ที่จะมีการเพิ่มความหลากหลายของลักษณะโครงเรื่องแก่นเรื่อง ความขัดแย้ง ตัวละคร มุมมองการเล่าเรื่อง สัญลักษณ์พิเศษ ส่วนที่มีความแตกต่างด้านการนำเสนอคือ ฉาก ช่วงเวลาและสถานที่ในการเล่าเรื่องจะต่างไปตามช่วงยุคสมัยในการนำเสนอแต่ละสื่อ และบทสนทนา ในการ์ตูนใช้ภาษาเขียนและภาษาภาพ ในขณะที่ในภาพยนตร์ใช้ภาษาพูด
จากการเปรียบเทียบการปรับเปลี่ยนไปสู้สื่ออื่นๆ ของสื่อต้นทางทั้งสามเรื่องเรียง ตามลำดับดังนี้ 1.การ์ตูนเรื่อง “The 13 Quiz Show” มีการขยายเรื่องราวออกไปกว้างขึ้นจากเดิม มาก 2. ภาพยนตร์เรื่อง “ร้านของขวัญเพื่อคนที่คุณเกลียด” มีการเปลี่ยนมุมมองในการนำเสนอ 3. การ์ตูนเรื่อง “อย่าอ่านชะตาจะขาด” คงเรื่องไว้ใกล้เคียงจากเดิมมากที่สุดต่างจากเดิมเพียงแค่ ลำดับในการเล่าเรื่อง รายละเอียดของตัวละครและสถานที่บางส่วนเท่านั้น
การเล่าเรื่องข้ามสื่อของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ นั้น หากเป็นการเลำจากสื่อการ์ตูนเป็นสื่อต้น ทาง จะมีการขยายเรื่องราวมากขึ้นเมื่อนำไปเล่าในสื่อภาพยนต์ ในทางกลับกัน หากสื่อต้นทาง เป็นสื่อภาพยนตร์ สื่อที่เล่าเรื่องสื่อที่สองเป็นสื่อการ์ตูนเล่มจะตัดทอนและเปลี่ยนแปลงให้กระชับ และตรงจุดมากขึ้น โดยที่ส่วนที่มักจะเพิ่มและลดตามการปรับเปลี่ยนในการเลำเรื่องข้ามสื่อก็คือ เรื่องของรายละเอียดตัวละคร เนื้อหา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไปจนถึงมุมมองการเล่าเรื่อง
ในขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ต การ์ตูนออนไลน์นั้น ตำงออกไปตรงที่เป็นการ์ตูนที่ไม่จบในตอน มีการเขียนนำเสนอในลักษณะการ์ตูนชุด และมีลักษณะการเล่าเรื่องแบบภาพยนตร์แต่นำเสนอใน รูปแบบการ์ตูน
สรุปแล้วผลงานของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ เล่าเรื่องข้ามสื่อได้ดี เพราะสามารถเล่าเรื่องราว ต่างๆ ได้ตามคุณลักษณะสื่อที่เลือกนำเสนอ
This research studies the transmedia storytelling in Eakasit Thairaat’s Thai comics by studying the storytelling of comics and films and comparing their differences in order to analyze the methods of storytelling which vary depending on the types of media. Included in this study are 3 comics which are “The 13 Quiz Show”, “Ya Aan Chata Ja Khad”(The Paper), and “Raan Khongkwan Phue Khon Tee Khun Kliad” (Gift Shop for Someone You Hate) and 5 films which are “13 Beloved,” “11 Earthcore” (short film), “12 Begin” (short film), “4bia: Death Talisman Episode,” “The 4 Movie: Raan Khongkwan Phue Khon Tee Khun Kliad Episode” and “14 Beyond” (online comic).
The result of the study revealed that the narrative elements of comics and films by Eakasit Thairaat were similar. The second medium made some changes from the original medium to create realism and to make the storytelling compatible with the characteristics of the narrative medium, especially films which increased the diversity of plot, conflicts, characters, point of View and Special Symbols. The aspects which were different in the presentation were the Scene, the time and the place of narration which varied according to each medium’s period of presentation and also the conversation. Comics used written language and pictures while films used spoken language.
According to the comparison, the changes made in the 3 comics for the transition to other media were as follow: 1) the comic “The 13 Quiz Show” expanded the story much wider; 2) the film ‚Raan Khongkwan Phue Khon Tee Khun Kliad” (Gift Shop for Someone You Hate)‛ changed the presentation’s point of View and 3) the comic ‚Ya Aan Chata Ja Khad” (The Paper)‛ maintained the original story as much as possible and only changed the Sequence of narration as well as some of the characters’ details and places.
Regarding the transmedia storytelling of Eakasit Thairaat, if the comic was the original medium, the story would be expanded when narrated through the film. On the other hand, if the original medium was the film, the second narrative medium, which was the comic book, would cutsome details and edit the story to make it more precise and straight to the point. The parts which were usually added or cut according to the changes in transmedia storytelling were the details of characters, the contents of events and the point of view of the narrative.
Meanwhile, the online comic presented through the internet medium was different as the comic did not end in one episode. The presentation was in the form of series of which nature of narration resembled that of the film, but it was presented in the form of comic. In conclusion, the transmedia storytelling of Eakasit Thairaat’s works is well done since it can narrate the stories in the way that is compatible with the characteristics of the media that are chosen for the presentation.
ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบการเล่าเรื่องของการ์ตูน และภาพยนตร์ของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ มีความใกล้เคียงกันทั้งสองสื่อ โดยสื่อที่สองจะมีการเปลี่ยนแปลงไปจากสื่อเดิมบางส่วน เพื่อให้เกิดความสมจริงและเข้ากับคุณลักษณะสื่อที่นำเสนอเรื่องเล่า โดยเฉพาะในสื่อภาพยนตร์ที่จะมีการเพิ่มความหลากหลายของลักษณะโครงเรื่องแก่นเรื่อง ความขัดแย้ง ตัวละคร มุมมองการเล่าเรื่อง สัญลักษณ์พิเศษ ส่วนที่มีความแตกต่างด้านการนำเสนอคือ ฉาก ช่วงเวลาและสถานที่ในการเล่าเรื่องจะต่างไปตามช่วงยุคสมัยในการนำเสนอแต่ละสื่อ และบทสนทนา ในการ์ตูนใช้ภาษาเขียนและภาษาภาพ ในขณะที่ในภาพยนตร์ใช้ภาษาพูด
จากการเปรียบเทียบการปรับเปลี่ยนไปสู้สื่ออื่นๆ ของสื่อต้นทางทั้งสามเรื่องเรียง ตามลำดับดังนี้ 1.การ์ตูนเรื่อง “The 13 Quiz Show” มีการขยายเรื่องราวออกไปกว้างขึ้นจากเดิม มาก 2. ภาพยนตร์เรื่อง “ร้านของขวัญเพื่อคนที่คุณเกลียด” มีการเปลี่ยนมุมมองในการนำเสนอ 3. การ์ตูนเรื่อง “อย่าอ่านชะตาจะขาด” คงเรื่องไว้ใกล้เคียงจากเดิมมากที่สุดต่างจากเดิมเพียงแค่ ลำดับในการเล่าเรื่อง รายละเอียดของตัวละครและสถานที่บางส่วนเท่านั้น
การเล่าเรื่องข้ามสื่อของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ นั้น หากเป็นการเลำจากสื่อการ์ตูนเป็นสื่อต้น ทาง จะมีการขยายเรื่องราวมากขึ้นเมื่อนำไปเล่าในสื่อภาพยนต์ ในทางกลับกัน หากสื่อต้นทาง เป็นสื่อภาพยนตร์ สื่อที่เล่าเรื่องสื่อที่สองเป็นสื่อการ์ตูนเล่มจะตัดทอนและเปลี่ยนแปลงให้กระชับ และตรงจุดมากขึ้น โดยที่ส่วนที่มักจะเพิ่มและลดตามการปรับเปลี่ยนในการเลำเรื่องข้ามสื่อก็คือ เรื่องของรายละเอียดตัวละคร เนื้อหา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไปจนถึงมุมมองการเล่าเรื่อง
ในขณะที่สื่ออินเตอร์เน็ต การ์ตูนออนไลน์นั้น ตำงออกไปตรงที่เป็นการ์ตูนที่ไม่จบในตอน มีการเขียนนำเสนอในลักษณะการ์ตูนชุด และมีลักษณะการเล่าเรื่องแบบภาพยนตร์แต่นำเสนอใน รูปแบบการ์ตูน
สรุปแล้วผลงานของเอกสิทธิ์ ไทยรัตน์ เล่าเรื่องข้ามสื่อได้ดี เพราะสามารถเล่าเรื่องราว ต่างๆ ได้ตามคุณลักษณะสื่อที่เลือกนำเสนอ
This research studies the transmedia storytelling in Eakasit Thairaat’s Thai comics by studying the storytelling of comics and films and comparing their differences in order to analyze the methods of storytelling which vary depending on the types of media. Included in this study are 3 comics which are “The 13 Quiz Show”, “Ya Aan Chata Ja Khad”(The Paper), and “Raan Khongkwan Phue Khon Tee Khun Kliad” (Gift Shop for Someone You Hate) and 5 films which are “13 Beloved,” “11 Earthcore” (short film), “12 Begin” (short film), “4bia: Death Talisman Episode,” “The 4 Movie: Raan Khongkwan Phue Khon Tee Khun Kliad Episode” and “14 Beyond” (online comic).
The result of the study revealed that the narrative elements of comics and films by Eakasit Thairaat were similar. The second medium made some changes from the original medium to create realism and to make the storytelling compatible with the characteristics of the narrative medium, especially films which increased the diversity of plot, conflicts, characters, point of View and Special Symbols. The aspects which were different in the presentation were the Scene, the time and the place of narration which varied according to each medium’s period of presentation and also the conversation. Comics used written language and pictures while films used spoken language.
According to the comparison, the changes made in the 3 comics for the transition to other media were as follow: 1) the comic “The 13 Quiz Show” expanded the story much wider; 2) the film ‚Raan Khongkwan Phue Khon Tee Khun Kliad” (Gift Shop for Someone You Hate)‛ changed the presentation’s point of View and 3) the comic ‚Ya Aan Chata Ja Khad” (The Paper)‛ maintained the original story as much as possible and only changed the Sequence of narration as well as some of the characters’ details and places.
Regarding the transmedia storytelling of Eakasit Thairaat, if the comic was the original medium, the story would be expanded when narrated through the film. On the other hand, if the original medium was the film, the second narrative medium, which was the comic book, would cutsome details and edit the story to make it more precise and straight to the point. The parts which were usually added or cut according to the changes in transmedia storytelling were the details of characters, the contents of events and the point of view of the narrative.
Meanwhile, the online comic presented through the internet medium was different as the comic did not end in one episode. The presentation was in the form of series of which nature of narration resembled that of the film, but it was presented in the form of comic. In conclusion, the transmedia storytelling of Eakasit Thairaat’s works is well done since it can narrate the stories in the way that is compatible with the characteristics of the media that are chosen for the presentation.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม)) -- สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2014