• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

LoginRegister

ขอบเขตของการเป็น"ผู้ใช้": ศึกษากรณีผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำความผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำความผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิด

by พงศ์พิงค์ มูลพงศ์อนุพันธุ์

Title:

ขอบเขตของการเป็น"ผู้ใช้": ศึกษากรณีผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำความผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำความผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิด

Other title(s):

Scope of to be the "instigator" : a study in the case where a person being instigated decided to commit an offence but later change intention to commit another offence as a result of instigation of an offence

Author(s):

พงศ์พิงค์ มูลพงศ์อนุพันธุ์

Advisor:

บรรเจิด สิงคะเนติ

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2014

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ในเรื่องผู้ร่วมกระทำความผิดหลายคนในคดีอาญา ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึง เฉพาะ ผู้ร่วมกระทำความผิดที่เป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุนเท่านั้น ในกรณีที่มีผู้กระทำความผิดหลายคน เนื่องจากในระบบกฎหมายอาญาของไทย เป็นระบบที่ยอมรับหลักการลดหย่อนโทษผุู้ร่วมกระทำความผิด ดังนั้นหากเกิดกรณีที่ต้องวิเคราะห์ว่าผู้ใดเป็นผู้ใช้ เเละผู้ใดเป็นผู้สนับสนุน ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ เราจะใช้หลักเกณฑ์อะไรมาเป็๋นจุดแบ่งแยกของการาใช้เเละการสนับสนุน นอกจากนี้ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะต้องรับผิดในฐานอะไรบ้าง โดยเฉพาะเมื่อปี 2553 เนติบัญฑิตยสภาได้ออกข้อสอบกลุ่มวิชาอาญา เพื่อทดสอบนักศึกษาว่าเข้าใจหลักเรื่องผู้ใช้ ก็จะเกิดปัญหาขึ้นมาว่า ใช้หลักเกณฑ์อะไรมาเป็นจุดแบ่งแยกระหว่างผู้ใช้กับผู้สนับสนุน เนื่องจากไม่ตรงกับหลักเกณฑ์ทางตำราที่ได้ศึกษาค้นคว้า
เพราะฉะนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเขียนขึ้นมาด้วยเหตุผลเดียว คือ จะศึกษาถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งแยกผู้ร่วมกระทำผิด ซึ่งจะศึกษาเฉพาะความหมายของ ผู้ใช้เเละผู้สนับสนุน เเละในกรณีที่ผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิด
รวมทั้งศึกษาถึงทฤษฎีต่างๆเพื่อนำมาอธิบายปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้นในประเทศไทย หรือที่เรียกว่า "ปัญหาในทางตำรา" อย่างเป็นระบบ โดยศึกษาในสองระบบ ทั้งในระบบCommon Law เเละระบบ Civil law โดยศึกษาหลักกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งแยก เเล้วนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับผู้ใช้ เเละผู้สนับสนุน ตามกำหมายไทย
ข้อมูลที่ใช้อ้างอิงในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้มาจากการค้นคว้าจากตำรา บทความ เเละงานเขียนทางตำราของนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงทั้งไทย เเละต่างประเทศ รวมทั้งกฎหมาย เเละปัญหากฎหมายของไทย โดยนำทฤษฎีต่างๆมาวิเคราะห์กับปัญหาดังกล่าว
ท้ายที่สุดเเล้ว สิ่งที่จะได้จากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ คือ เข้าใจหลักเกณฑ์เรื่องผู้ใช้ เเละผู้สนับสนุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ในการแบ่งแยกระหว่างผู้ใช้ กับผู้สนับสนุน รวมทั้งการกระทำความผิดในฐานะที่เป็นเนื้อหาของการใช้ให้กระทำความผิด เเละมีการเปลี่ยนแปลงวัตถุที่ถูกกระทำ เพื่อสามารถนำทฤษฎีต่างๆมาวิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวได้อย่างมีเหตุผลยิ่งขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2556

Subject(s):

ความผิดทางอาญา
ความผิด (กฎหมาย)

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

71 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Access rights:

สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารฉบับเต็ม เฉพาะ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เท่านั้น

Rights holder(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3340
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
ba185724.pdf ( 3,880.65 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [99]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

‹›×