• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำกุดทิง จังหวัดบึงกาฬ

by ภูมิพัฒน์ พลราช

ชื่อเรื่อง:

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำกุดทิง จังหวัดบึงกาฬ

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

People's participation in Kut Ting Wetland Conservation, Bungkan Province

ผู้แต่ง:

ภูมิพัฒน์ พลราช

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์

ชื่อปริญญา:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

คณะ/หน่วยงาน:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2556

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำกุดทิงรวมทังศึกษาถึงปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำกุดทิงประชากรในการวิจัยได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบพื้นที่ชุ่มน้ำกุดทิงโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) มีกลุ่มตัวอย่างจํานวน 372 ครัวเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามทําการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม พ.ศ. 2556
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเกินกว่ากึ่งหนึ่งมีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงบวก มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำในระดับปานกลาง มีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์มากที่สุด ขณะที่มีส่วนร่วมในการตรวจสอบและติดตามผลน้อยที่สุด ปัญหาและอุปสรรคที่สําคัญในการอนุรักษ์พื้นที่ ได้แก่ การลักลอบจับสัตว์น้ำและการบุกรุกพื้นที่ชุ่มน้ำ โดยมีข้อเสนอแนะ คือ ต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการอนุรักษ์อย่างจริงจัง ทั้งนี้ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ เพศ สถานภาพในครอบครัว ระดับการศึกษา การมีตําแหน่งทางสังคม การได้รับการฝึกอบรม ระยะทางจากพื้นที่ชุ่มน้ำ และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ
ดังนั้น แนวทางในการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ คือ การสร้างและกระตุ้นจิตสํานึกให้กับประชาชนและการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ผู้นําชุมชน ทั้งโดยการประชาสัมพันธ์และการจัดฝึกอบรม

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2556.

หัวเรื่องมาตรฐาน:

พื้นที่ชุ่มน้ำ -- การจัดการ.
พื้นที่ชุ่มน้ำ -- ไทย -- บึงกาฬ

คำสำคัญ:

พื้นที่ชุ่มน้ำกุดทิง

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

121 แผ่น.

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3433
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • ba187555.pdf ( 2,237.37 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [564]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×