• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมของชุมชนบ้านประทุม

by ปัญญรัตน์ วันทอง

Title:

กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมของชุมชนบ้านประทุม

Other title(s):

The communication strategies for convey wisdom of silk weaving of Pratun Village

Author(s):

ปัญญรัตน์ วันทอง

Advisor:

พัชนี เชยจรรยา

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

จากผลการศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้า ไหมของชุมชนบ้านประทุน พบว่า มีวิธีการถ่ายทอดโดยการอาศัยบุคคลเป็ นแหล่งความรู้ในการ สาธิต เน้นการปฏิบัติและลงมือทา ซึ่งบ้านถือเป็นแหล่งถ่ายทอดที่สาคัญ ในการถ่ายทอดใช้การ เรียนรู้แบบมุขปาฐะ คือ การเรียนรู้จากบรรพบุรุษถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง แหล่งความรู้ที่ สาคัญคือ ครอบครัว ใช้วิธีสอนด้วยการปฏิบัติจริง อธิบายการทาด้วยการบอกเล่า มีการรวมกลุ่ม กันเพื่อทอผ้าไหมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมซึ่งกันและกัน ชุมชนบ้านประทุนมีการใช้กลยุทธ์สื่อประเภทต่างๆ คือ สื่อพืน้ บ้าน สื่อบุคคล สื่อใหม่ สื่อมวลชน และสื่อเฉพาะกิจหรือสื่อกิจกรรม เพื่อให้กลยุทธ์การสื่อสารดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการโน้มน้าวใจ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหม สามารถ หลอมรวมคนในชุมชนให้เป็นหนึ่งเดียวกันและรวมกลุ่มกันเพื่ออนุรักษ์มรดกของชุมชนต่อไป ด้าน การรับรู้ ทัศนคติ ความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมของประชาชนชุมชนบ้านประทุนเกี่ยวกับภูมิ ปัญญาการทอผ้าไหม พบว่า ผลจากการสื่อสารภายในชุมชนที่มีการใช้กลยุทธ์สื่อที่หลากหลาย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกกลุ่มภายในชุมชนนัน้ ก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติ ทัง้ ทัศนคติที่มี ต่อผู้นาชุมชน และทัศนคติที่มีต่อภูมิปัญญาการทอผ้าไหม ซึ่งส่งผลให้คนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการถ่ายทอดและช่องทางการสื่อสารมากขึน้ อันนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่ทาให้เกิดความร่วมมือในการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในผู้สืบทอดและผู้อนุรักษ์ภูมิปัญญา การทอผ้าไหมต่อไป
สาคัญคือ ครอบครัว ใช้วิธีสอนด้วยการปฏิบัติจริง อธิบายการทาด้วยการบอกเล่า มีการรวมกลุ่ม กันเพื่อทอผ้าไหมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหมซึ่งกันและกัน ชุมชนบ้านประทุนมีการใช้กลยุทธ์สื่อประเภทต่างๆ คือ สื่อพืน้ บ้าน สื่อบุคคล สื่อใหม่ สื่อมวลชน และสื่อเฉพาะกิจหรือสื่อกิจกรรม เพื่อให้กลยุทธ์การสื่อสารดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการโน้มน้าวใจ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้าไหม สามารถ หลอมรวมคนในชุมชนให้เป็นหนึ่งเดียวกันและรวมกลุ่มกันเพื่ออนุรักษ์มรดกของชุมชนต่อไป ด้าน การรับรู้ ทัศนคติ ความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมของประชาชนชุมชนบ้านประทุนเกี่ยวกับภูมิ ปัญญาการทอผ้าไหม พบว่า ผลจากการสื่อสารภายในชุมชนที่มีการใช้กลยุทธ์สื่อที่หลากหลาย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกกลุ่มภายในชุมชนนัน้ ก่อเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติ ทัง้ ทัศนคติที่มี ต่อผู้นาชุมชน และทัศนคติที่มีต่อภูมิปัญญาการทอผ้าไหม ซึ่งส่งผลให้คนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการถ่ายทอดและช่องทางการสื่อสารมากขึน้ อันนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่ทาให้เกิดความร่วมมือในการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในผู้สืบทอดและผู้อนุรักษ์ภูมิปัญญา การทอผ้าไหมต่อไป
ทั้ง นี้จากผลการศึกษาดังกล่าว พบว่า ชุมชนบ้านประทุนประสบความสาเร็จในด้านของ การใช้สื่อประเภทต่างๆ ให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน สามารถเป็นชุมชนต้นแบบในการศึกษา วิธีการสื่อสารเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับชุมชนอื่นได้ด้วยการบริหารจัดการการ สื่อสารของชุมชนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีสื่อบุคคล ได้แก่ ปราชญ์ ชาวบ้านและสมาชิกชุมชนบ้านประทุนที่มีความเข้มแข็งและยืนหยัดที่จะพัฒนาคน ร่วมเสริมสร้าง ความรู้ให้แก่คนในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนหวงแหนภูมิปัญญาที่บรรพบุรุษได้ สั่ง สมไว้และสืบ สานไว้ให้แก่คนรุ่นหลังสืบไป

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

การทอผ้า -- ไทย
อุตสาหกรรมสิ่งทอ -- ไทย
ผ้าทอ -- ไทย
ผ้าไหม
หัตถกรรม -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

190 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3495
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b187846.pdf ( 1.15 MB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [179]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×