นวัตกรรมการประชาสัมพันธ์กับการรับรู้และตัดสินใจทำประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Publisher
Issued Date
2014
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
158 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba187851
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วัลย์ลิกา บูรณ์ทอง (2014). นวัตกรรมการประชาสัมพันธ์กับการรับรู้และตัดสินใจทำประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3508.
Title
นวัตกรรมการประชาสัมพันธ์กับการรับรู้และตัดสินใจทำประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
The perception and decision making of citizens in Bangkok in respect of innovative insurance public relations
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการดา เนินชีวิต การรับรู้ข่าวสารและการ
ตัดสินใจทาประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างการรับรู้และการตัดสินใจทา ประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อ
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดาเนินชีวิตกับการรับรู้เรื่องการประกันวินาศภัยของ
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดาเนินชีวิตกับ
การตัดสินใจทา ประกันวินาศภัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และ 5) เพื่อศึกษากลยุทธ์
การประชาสัมพันธ์ของบริษัทประกันวินาศภัยในการสร้างการรับรู้และตัดสินใจทา ประกันวินาศภัย
กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้คือ ผู้ที่ทา ประกันวินาศภัยในเขตกรุงเทพมหานครและผู้บริหารงาน ประชาสัมพันธ์ของบริษัทประกันวินาศภัย จานวน 7 บริษัท เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม และ การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยแบ่งออกเป็น การรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามจานวน 400 ชุด และ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้บริหารจา นวน 7 ท่าน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อหา ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติ Factor Analysis เพื่อจัดกลุ่มตัวแปร รูปแบบการดา เนินชีวิต และการวิเคราะห์สถิติอนุมานโดยใช้การวิเคราะห์ค่าที (t-test) การวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า
1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 58.0) อายุระหว่าง 26-35 ปี (ร้อยละ 40.0) สถานภาพโสด (ร้อยละ 64.0) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 53.2) ประกอบอาชีพเป็น ลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 68.3) มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 10,001-30,000 บาท (ร้อยละ 47.6)
2) กลุ่มตัวอย่างได้รับรู้ข่าวสารเรื่องการประกันวินาศภัยจากสื่อวิทยุโทรทัศน์มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 3.48) ด้านข่าวสารประชาสัมพันธ์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.97) รูปแบบการดา เนินชีวิตกับการทา ประกันวินาศภัย พบว่า รูปแบบการดา เนินชีวิตด้านความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการทา ประกันวินาศภัยมีความคิดเห็นในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.65) รองลงมาคือ รูปแบบการดาเนินชีวิตด้านกิจกรรมมีความคิดเห็นในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.30) และด้านความสนใจมี ความคิดเห็นในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.17) ความคิดเห็น/ทัศนคติ พฤติกรรม และปัจจัยที่ส่งผล ต่อการตัดสินใจทา ประกันวินาศภัย พบว่า พฤติกรรมการตัดสินใจทา ประกันวินาศภัยในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.21) รองลงมาคือ ความคิดเห็น/ทัศนคติต่อการทา ประกันวินาศภัย ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.17) และสุดท้ายคือปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ทา ประกันวินาศภัยในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.13)
กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้คือ ผู้ที่ทา ประกันวินาศภัยในเขตกรุงเทพมหานครและผู้บริหารงาน ประชาสัมพันธ์ของบริษัทประกันวินาศภัย จานวน 7 บริษัท เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม และ การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยแบ่งออกเป็น การรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามจานวน 400 ชุด และ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้บริหารจา นวน 7 ท่าน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อหา ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติ Factor Analysis เพื่อจัดกลุ่มตัวแปร รูปแบบการดา เนินชีวิต และการวิเคราะห์สถิติอนุมานโดยใช้การวิเคราะห์ค่าที (t-test) การวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า
1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 58.0) อายุระหว่าง 26-35 ปี (ร้อยละ 40.0) สถานภาพโสด (ร้อยละ 64.0) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 53.2) ประกอบอาชีพเป็น ลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 68.3) มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 10,001-30,000 บาท (ร้อยละ 47.6)
2) กลุ่มตัวอย่างได้รับรู้ข่าวสารเรื่องการประกันวินาศภัยจากสื่อวิทยุโทรทัศน์มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 3.48) ด้านข่าวสารประชาสัมพันธ์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.97) รูปแบบการดา เนินชีวิตกับการทา ประกันวินาศภัย พบว่า รูปแบบการดา เนินชีวิตด้านความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการทา ประกันวินาศภัยมีความคิดเห็นในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.65) รองลงมาคือ รูปแบบการดาเนินชีวิตด้านกิจกรรมมีความคิดเห็นในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.30) และด้านความสนใจมี ความคิดเห็นในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.17) ความคิดเห็น/ทัศนคติ พฤติกรรม และปัจจัยที่ส่งผล ต่อการตัดสินใจทา ประกันวินาศภัย พบว่า พฤติกรรมการตัดสินใจทา ประกันวินาศภัยในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.21) รองลงมาคือ ความคิดเห็น/ทัศนคติต่อการทา ประกันวินาศภัย ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.17) และสุดท้ายคือปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ทา ประกันวินาศภัยในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.13)
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557.