การรับรู้และการตอบสนองการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ของเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ
Files
Publisher
Issued Date
2014
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
166 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba187857
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
รสสุคนธ์ สกุลเมตตา (2014). การรับรู้และการตอบสนองการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ของเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3513.
Title
การรับรู้และการตอบสนองการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ของเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ
Alternative Title(s)
The recognition and response of communication marketing through official account line of mobile network
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 1) เพื่อศึกษาถึงลักษณะทางประชากร
ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ที่มีต่อการตอบสนองของผู้บริโภค 2) เพื่อ
ศึกษาถึงพฤติกรรมและการเปิดรับข่าวสารผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ต่อการตอบสนองของ
ผู้บริโภค 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิ เชียลแอค
เคานต์ต่อการตอบสนองของผู้บริโภค เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการใช้แบบสอบถามเป็น
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ใช้งานไลน์
แอปพลิเคชันที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จานวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การวิเคราะห์
ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 – 25 ปี มีการศึกษาระดับปริญญา ตรี ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน/นักศึกษา และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 20,000 บาท
2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการใช้งานไลน์แอปพลิเคชันทุกวันต่อสัปดาห์ มีระยะเวลาใช้ งานไลน์แอปพลิเคชันมากกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน ช่วงเวลา 20.01 – 24.00 น. มีการใช้งานไลน์แอป พลิเคชันเป็นประจา มากที่สุด ส่วนใหญ่ติดตามการสื่อสารการตลาดผ่านทางไลน์ออฟฟิ เชียลแอค เคานต์ เพื่อติดตามข้อมูลข่าวสาร สาหรับรูปแบบการสื่อสารการตลาดที่เคยพบเห็นผ่านทางไลน์ ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ คือการแจ้งโปรโมชั่น/ส่วนลดราคา หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้รับข้อมูล ข่าวสารแล้วส่วนใหญ่มีการตอบสนองโดยการคลิกอ่านผ่านๆ และมีระยะเวลาที่เปิดอ่านข้อความ/ ข้อมูลข่าวสารทางการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิ เชียลแอคเคานต์ 1 – 2 วันต่อสัปดาห์
3) การรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ของเครือข่ายโทรศัพท์ มือถือ พบว่า
(1) การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของเครือข่ายโทรศัพท์มือถือผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ มีระดับการรับรู้โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง พบว่า เครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่มีระดับการรับรู้อยู่ ในระดับมาก คือ เครือข่ายโทรศัพท์มือถือของทรูมูฟ (2) การรับรู้รูปแบบต่างๆ ของการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ที่ กลุ่มตัวอย่างได้รับ มีระดับการรับรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ข้อที่มีระดับการรับรู้อยู่ในระดับ มาก คือ การเปิดให้ดาวน์โหลดสติ๊กเกอร์ได้ฟรี
4) กระบวนการตอบสนองของผู้บริโภค (AIDA Model) มีระดับการตอบสนองโดยรวมอยู่ ในระดับมาก พบว่า ในด้านความตั้งใจ ด้านความสนใจ และด้านความต้องการมีระดับการ ตอบสนองโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนในด้านการตัดสินใจซื้อ มีระดับการตอบสนองโดยรวมอยู่ ในระดับปานกลาง
5) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า (1) ลักษณะทางประชากร พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ที่ ต่างกันมีการตอบสนองของผู้บริโภคในการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ พบว่า ผู้บริโภคที่มี ระยะเวลาเปิดอ่านข้อความ/ข้อมูลข่าวสารทางการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ที่ต่างกันมี การตอบสนองด้านการตัดสินใจซื้อแตกต่างกัน อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) การรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิ เชียลแอคเคานต์มีความสัมพันธ์ต่อการ ตอบสนองของผู้บริโภค ด้านความตั้งใจ ด้านความสนใจ และด้านความต้องการ อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 – 25 ปี มีการศึกษาระดับปริญญา ตรี ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน/นักศึกษา และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 20,000 บาท
2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการใช้งานไลน์แอปพลิเคชันทุกวันต่อสัปดาห์ มีระยะเวลาใช้ งานไลน์แอปพลิเคชันมากกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน ช่วงเวลา 20.01 – 24.00 น. มีการใช้งานไลน์แอป พลิเคชันเป็นประจา มากที่สุด ส่วนใหญ่ติดตามการสื่อสารการตลาดผ่านทางไลน์ออฟฟิ เชียลแอค เคานต์ เพื่อติดตามข้อมูลข่าวสาร สาหรับรูปแบบการสื่อสารการตลาดที่เคยพบเห็นผ่านทางไลน์ ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ คือการแจ้งโปรโมชั่น/ส่วนลดราคา หลังจากที่กลุ่มตัวอย่างได้รับข้อมูล ข่าวสารแล้วส่วนใหญ่มีการตอบสนองโดยการคลิกอ่านผ่านๆ และมีระยะเวลาที่เปิดอ่านข้อความ/ ข้อมูลข่าวสารทางการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิ เชียลแอคเคานต์ 1 – 2 วันต่อสัปดาห์
3) การรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ของเครือข่ายโทรศัพท์ มือถือ พบว่า
(1) การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของเครือข่ายโทรศัพท์มือถือผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ มีระดับการรับรู้โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง พบว่า เครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่มีระดับการรับรู้อยู่ ในระดับมาก คือ เครือข่ายโทรศัพท์มือถือของทรูมูฟ (2) การรับรู้รูปแบบต่างๆ ของการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ที่ กลุ่มตัวอย่างได้รับ มีระดับการรับรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก พบว่า ข้อที่มีระดับการรับรู้อยู่ในระดับ มาก คือ การเปิดให้ดาวน์โหลดสติ๊กเกอร์ได้ฟรี
4) กระบวนการตอบสนองของผู้บริโภค (AIDA Model) มีระดับการตอบสนองโดยรวมอยู่ ในระดับมาก พบว่า ในด้านความตั้งใจ ด้านความสนใจ และด้านความต้องการมีระดับการ ตอบสนองโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนในด้านการตัดสินใจซื้อ มีระดับการตอบสนองโดยรวมอยู่ ในระดับปานกลาง
5) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า (1) ลักษณะทางประชากร พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ที่ ต่างกันมีการตอบสนองของผู้บริโภคในการสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ พบว่า ผู้บริโภคที่มี ระยะเวลาเปิดอ่านข้อความ/ข้อมูลข่าวสารทางการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคานต์ที่ต่างกันมี การตอบสนองด้านการตัดสินใจซื้อแตกต่างกัน อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) การรับรู้การสื่อสารการตลาดผ่านไลน์ออฟฟิ เชียลแอคเคานต์มีความสัมพันธ์ต่อการ ตอบสนองของผู้บริโภค ด้านความตั้งใจ ด้านความสนใจ และด้านความต้องการ อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557.