Browsing GSHRD: Theses by Title
Now showing items 132-151 of 158
-
ผลกระทบของระบบการบริหารผลงานและการจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน : กรณีศึกษา กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐ เน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ผู้ช่วยแม่บ้านไทยในฮ่องกง : ภูมิหลัง สภาพการทำงาน และแนวทางในการจัดทำ "โครงการแรงงานคืนถิ่น"
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1999); -
ผู้นำท้องถิ่นกับความเข้มแข็งของชุมชนชนบท
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003); -
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟในร้านกาแฟพรีเมียม : กรณีศึกษาผู้บริโภคในย่านธุรกิจของกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2007); -
พฤติกรรมของผู้นำและสภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งผลต่อความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากร : กรณีศึกษาองค์การธุรกิจไทยที่มีนวัตกรรมยอดเยี่ยมปี 2009
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011);
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับของพฤติกรรมของผู้นำสภาพแวดล้อม การทำงาน และความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากรองค์การธุรกิจไทยที่ได้รับรางวัลองค์การที่ มีนวัตกรรมยอดเยี่ยมปี 2552 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของผู้นำ สภาพแวดล้อม การทำงานกับความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากร และ (3) อิทธิพลของพฤติกรรมของผู้นำ และ สภาพแวดล้อมการทำงานที่มีต่อความสร้างสรรค์ในงานของบุคลากร การศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ... -
พฤติกรรมผู้บริโภค เอกลักษณ์องค์การและความพึงพอใจในคุณภาพบริการที่มีผลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการสายการบินคาเธ่ย์ แปซิฟิค
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจสถานภาพโดยทั่วไปของตัวแปรลักษณะ ประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการใช้บริการ เอกลักษณ์องค์การ ความพึงพอใจในคุณภาพบริการ และ ความภักคีของลูกค้าที่ใช้บริการสายการบินคาเย์ แปซิฟิก 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการใช้บริการ เอกลักษณ์องค์การ และความพึงพอใจใน คุณภาพบริการที่มีผลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการสายการบินคาเธย์ แปซิฟิกในปัจจุบัน และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้บริการ ที่มีผลต่อความพึงพอใจในคุณภาพบริการของ สายการบินคาเธย์ แปซิฟิก 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะสำห ... -
พุทธจริยธรรมเพื่อเสริมสร้างพื้นฐานการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรโครงการ "เกษตรทฤษฎีใหม่" จังหวัดชลบุรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003); -
ภาวะผู้นำกับผลการปฏิบัติงานของทีมในผู้ต้องขังโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาเรือนจำชั่วคราวเขาพลอง สังกัดเรือนจำจังหวัดชัยนาท
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012);
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาภาวะผู้นําในผู้นําทีมผู้ต้องขังที่อยู่ในโครงการ ชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เรือนจําชั่วคราวเขาพลอง สังกัดเรือนจําจังหวัดชัยนาท 2)ศึกษาการ ทํางานเป็นทีมในผู้ต้องขังโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เรือนจําชั่วคราวเขาพลอง สังกัด เรือนจําจังหวัดชัยนาท 3) ศึกษาผลการปฏิบัติงานของทีมในผู้ต้องขังโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน เรือนจําชั่วคราวเขาพลอง สังกัดเรือนจําจังหวัดชัยนาท 4) พัฒนาโมเดลต้นแบบในการ พัฒนาภาวะผู้นําของผู้นําทีมผู้ต้องขังกับโมเดลต้นแบบในการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานของทีมใน ... -
ภาวะผู้นำแบบพัฒนา การจัดการความสุขแบบเป็น-อยู่-คือ และความสุขในการทำงาน กรณีศึกษา : องค์การสร้างสุข
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นําแบบพัฒนาการจัดการความสุข แบบเป็น-อยู่-คือ ที่ส่งผลต่อความสุขในการทํางาน กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานในองค์การที่เข้า ร่วมโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) กลุ่มองค์กรนำรองรุ่นที่ 1 โดยสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) จํานวน 3 องค์การจาก 7 องค์การรวมทั้งสิ้น 415 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบ แบบสอบถามการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับภาวะผู้นําแบบพัฒนาของหัวหน้า แบบสอบถามการจัดการความสุขแบบเป็น-อยู่-คือ ... -
ภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง ความสุขในการทำงาน และพฤติกรรมการทำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงความสุขในการทำงาน และพฤติกรรมการทำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC ในด้านรูปแบบความสัมพนัธ์และอำนาจในการทำนายร่วมกัน โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ บุคลากรกลุ่ม Faculty และกลุ่ม Classified Staff โรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษา จำนวน 244คน การ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 แบบสอบถาม ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง แบบสอบถามความสุขในการทำงาน และ แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC ผลการวิจยัพบว่า ... -
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิกในกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพโดยทั่วไปของการบริหารผลปฏิบัติงานในโรงเรียนคาทอลิก 2) เพื่อสร้างตัวแบบระบบการบริหารผลปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิก 3) เพื่อประเมินตัวแบบระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนคาทอลิกในด้านความเหมาะสมความเป็นไปได้ และประโยชน์ในการนำไปใช้การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากโรงเรียนคาทอลิกในกรุงเทพมหานครจำนวน 10 แห่ง ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารและหัวหน้าฝ่ายจำนวน 20 คน และแจกแบบสอบถามความคิดเห็นครูและบุคลากรจำนวน 60 คน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและสถิติพรรณนา ... -
ระบบค่าตอบแทนในธุรกิจไทย : ผลกระทบต่อผลลัพธ์ระดับบุคคล
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2007);
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการออกแบบระบบค่าตอบแทนใน ธุรกจไทยที่มีต่อผลลัพธ์ระดับบุคคล และความพึงพอใจในค่าตอบแทน ตลอดจนศึกษา ผลกระทบของความพึงพอใจในค่าตอบแทนที่มีต่อผลลัพธ์ระดับบุคคล โดยเก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถามที่จัดส่งให้แก่ผู้บริหารฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ขององค์การที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจำนวน 527 องค์การมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถามที่ใช้ได้ คิดเป็นร้อยละ 20.68 ผลการศึกษาพบว่าการออกแบบระบบค่าตอบแทนที่คำนึงถึงความเสมอภาคภายใน ความเสมอภาคภายนอก และความเสมอภาคระหว่างบุคคลมีผลต่อผลลัพธ์ระดบบุคคล ความพึงพอใจในงาน ... -
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การกับการแลกเปลี่ยนความรู้ของพนักงานซ่อมบารุงอากาศยาน บริษัทมหาชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง และทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และพฤติกรรมย่อยของ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ 5 พฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมการช่วยเหลือผู้อื่น พฤติกรรมการคา นึงถึงผู้อื่น พฤติกรรมการอดทนอดกลั้น พฤติกรรมการให้ความร่วมมือ และ พฤติกรรมการสานึกในหน้าที่ ที่ส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานซ่อม บา รุงอากาศยานบริษัทมหาชนแห่งหนึ่ง จา นวน 336 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 3 ฉบับ ได้แก่ ... -
รูปแบบและประสิทธิผลการสื่อสารของผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาตามหลักโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัส
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและประสิทธิผลการสื่อสารระหว่างบุคคลของ พยาบาลวิชาชีพในระดับหัวหน้าแผนกและผู้ใต้บังคับบัญชาโรงพยาบาลภัทรธนบุรี จํานวน 122 คน โดยจําแนกรูปแบบการสื่อสารตามระบบประสาทสัมผัส ตามแนวคิดของหลักโปรแกรมภาษา ประสาทสัมผัส (Neuro Linguistic Programming: NLP) ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบได้แก่ การมอง (Visual) การฟัง (Auditory) การสัมผัส (Kinesthetic) และการใช้เหตุผล (Rational) โดยใช้ แบบสอบถามร่วมกับการสัมภาษณ์เพื่อรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการหาค่าเฉลีย ค่าร้อยละ ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของข้อมูล ... -
ลักษณะส่วนบุคคลและสภาพแวดล้อมองค์การที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน : กรณีศึกษาบริษัทเงินทุนในเขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997);
การศึกษาเรื่อง ลักษณะส่วนบุคคลและสภาพแวดล้อมองค์การที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน : กรณีศึกษาบริษัทเงินทุนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทเงินทุนในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ลักษณะงาน ลักษณะองค์การ ประสบการณ์ขณะปฏิบัติงาน กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทเงินทุนในเขตกรุงเทพมหานคร และ (3) ศึกษาว่าตัวแปรใดระหว่างลักษณะงาน ลักษณะองค์การ และประสบการณ์ขณะปฏิบัติงานกับองค์การที่สามารถทำนายความผูกพันต่อ ... -
วัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้นำแบบสร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมการทำงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารในองค์การเอกชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้นํา แบบสร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมการทํางานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งศึกษาความสามารถในการทํานายพฤติกรรมการทํางานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงโดยตัวแปรดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้บริหารระดับต้นและระดับกลางในองค์กร เอกชนแห่งหนึ่ง จํานวน 275 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 ชุด ประกอบด้วย แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้วัฒนธรรมองค์การ (ใน 5 ด้าน คือ การปรับตัว การมีส่วนร่วม โครงสร้างและกฎระเบียบ พันธกิจ และความรับผิดชอบต่อสังคม) ... -
สมรรถนะของหัวหน้างานและผู้บริหารระดับกลางสายสนับสนุนที่จำเป็นต่อการพัฒนาหน่วยงานสู่มาตรฐานสากลตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
การศึกษาคร้ังนี้มีจุดประสงค์มุ่งเน้นที่จะระบุสมรรถนะที่จำเป็นของหัวหน้างานและ ผู้บริหารระดับกลางสายสนับสนุนในสถาบันการศึกษาที่ผ่านเกณฑ์โครงการนำเกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศมาใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในจากวิถีปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practices) ที่เป็นข้อได้เปรียบในการพัฒนาองค์การของตนเองในสถาบันการศึกษา ประเทศไทย การศึกษาแบ่งออกได้เป็น 3ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1) การสัมภาษณ์เชิงพฤติกรรม โดยเก็บข้อมูลจากให้ผู้ข้อมูลจำนวน 17 ท่าน ตามเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ในระเบียบวิธี 2) การบูรณาการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาทบทวนวรร ... -
องค์ประกอบเชิงระบบและปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน : กรณีศึกษาหมู่บ้านวัดเกาะ ตำบลวังหว้า อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี / พีรสุต ศรีธวัช ณ อยุธยา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1998); -
อิทธิพลของช่วงอายุต่อความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนรวมและความผูกพันต่อองค์กรในวิชาชีพบัญชี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017);
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนรวมและความผูกพันต่อองค์กร ตลอดจนบทบาทของช่วงอายุในการเป็นตัวแปรกำกับของความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนรวมและความผูกพันต่อองค์กรในวิชาชีพบัญชี ซึ่งในการศึกษาใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทยจำนวน 500 ชุด จากนั้นนำผลมาวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาและสถิติอนุมานรวมทั้งการถดถอยแบบลำดับชั้น ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านค่าตอบแทน การรับรู้ความยุติธรรม และผลตอบแทนเชิงความสัมพันธ์ส่งผลกระทบต่อความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ... -
อิทธิพลของศาสนาต่อปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสุข: กรณีศึกษาของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี 2) ผลกระทบของปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสุขภาพ ปัจจัยด้านงาน และปัจจัยด้านสังคมต่อ ความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี 3) บทบาทของความเชื่อในศาสนาในการเป็นตัวแปรกำกับ ระหว่างปัจจัยด้านงานกับความสุขของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีโดยใช้แบบสอบถามในการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทยจำนวน 420 ชุด ได้รับการตอบกลับจำนวน 401 ชุด และนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิตพรรณนาและสถิติอนุมานรวมทั้งการถดถอยแบบลำดับชั้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีระดับค่าเฉลี่ยความสุข ...