Browsing GSHRD: Theses by Title
Now showing items 56-75 of 118
-
การสำรวจสถานะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009); -
การหาความจำเป็นในการฝึกอบรมและการวางแผนพัฒนานักพัฒนาทรัพยากรบุคคล กองฝึกอบรม กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004); -
การให้และรับข้อมูลป้อนกลับที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน : กรณีศึกษา บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำกัด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
การให้สิ่งจูงใจที่ไม่ใช่ตัวเงินและกลยุทธ์การสื่อสารของผู้นำที่มีผลต่อความรักและพลังขับเคลื่อนองค์การของคนเก่ง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
การออกแบบรายการขีดความสามารถในงานของบริษัทบางจากปิโตรเลียมจำกัด (มหาชน)
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2001); -
การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร "การประเมินความจำเป็นขององค์การ"
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004); -
ความขัดแย้งในบทบาทและความคลุมเครือในบทบาทที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาบุคลากรฝ่ายบริการแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997);
การศึกษาเรื่องความขัดแย้งในบทบาทและความคลุมเครือในบทบาท ที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาบุคลากรฝ่ายบริการแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาทและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน (2) ความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท ตัวแปรด้านภูมิหลัง (เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงาน) แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันหรือไม่ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท ... -
ความพร้อมในการนำอีเลิร์นนิ่งมาใช้สำหรับการฝึกอบรม : กรณีศึกษากลุ่มธุรกิจจีเอฟซีเอ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003); -
ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการหลังการขายในอุตสาหกรรมรถยนต์ : กรณีศึกษาบริษัท สยามกลการ เทรดดิ้ง จำกัด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004); -
ความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานบริษัท วีซีเคอินดัสเทียลไลน์ จำกัด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2005); -
ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างความผูกพันต่อองค์กร การสร้างเสริมความสามารถของพนักงานและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สังกัดสำนักคณะกรรมการอาชีวศึกษา เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของความผูกพันต่อองค์กรการสร้างเสริมความสามารถของพนักงานและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน โดยใช้การเก็บแบบสอบถามจาก ครู อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่เปิดสอนสายพาณิชยการ ในสาขาการบัญชี การตลาด คอมพิวเตอร์ธุรกิจและธุรกิจค้าปลีก จำนวนทั้งสิ้น296คน โดยใช้การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ด้วยโปรแกรม AMOS -
ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียนและกิจกรรมการสอนของอาจารย์พยาบาลกับความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2000); -
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการติดต่อสื่อสาร และการสนับสนุนทางสังคมในองค์การ กับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา ข้าราชการสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ความสามารถขององค์การบริหารส่วนตำบลในการปฏิบัติภารกิจหน้าที่ตามกฎหมาย : กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997); -
ความสามารถทางการจัดการของทรัพยากรมนุษย์ในองค์การธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ของไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2003); -
ความสามารถที่จำเป็นต่อนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลในธุรกิจของไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2004); -
ความสามารถในการแข่งขันของดิสเคาท์สโตร์และร้านโชวห่วยในเขตเทศบาลนครขอนแก่น
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2006); -
ความสุขในการทำงานของบุคลากรเชิงสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์กลุ่มสื่อและกลุ่มงานสร้างสรรค์เพื่อการใช้งาน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
คุณภาพชีวิตในการทำงาน จิตลักษณะ และการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การกับความมุ่งมั่นทุ่มเทของพนักงาน : กรณีศึกษา พนักงานบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012); -
เครือข่ายผู้ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อชุมชนในฐานะกลไกเสริมสร้างพลังกระบวนการประชาสังคม : ศึกษาเฉพาะกรณีเว็บไซต์จังหวัด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2000);
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 5 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาความเป็นมา วัตถุประสงค์รูปแบบการบริหารองค์กรของเว็บไซต์จังหวัดต่างๆ ของไทยในด้านการจัดองค์การบุคลากร การเงินและเทคโนโลยี (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการและชุมชนของเว็บไซต์จังหวัดต่างๆ (3) เพื่อศึกษารูปแบบการให้บริการและกิจกรรมต่างๆ ที่จัดทำโดยเว็บไซต์จังหวัด (4) เพื่อศึกษาลักษณะของผู้ใช้บริการเว็บไซต์จังหวัด (5) เพื่อศึกษาผลการจัดทำเว็บไซต์จังหวัดต่อการเสริมสร้างพลังกระบวนการประชาสังคม โดยเน้นถึงผลที่ต่อการเสริมสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมของผู้ใช้บริการเว็บไซต์จังหวัดต่อกิจกร ...