• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร
  • GSSDE: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การจัดการขยะตรวจค้นของอาคารผู้โดยสารขาออกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

by คมชาญ เจือจ้อย

Title:

การจัดการขยะตรวจค้นของอาคารผู้โดยสารขาออกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

Other title(s):

Management waste detection in the departure terminal in Suvarnabhumi Airport

Author(s):

คมชาญ เจือจ้อย

Advisor:

วิสาขา ภู่จินดา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2014

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาขยะตรวจค้นในอาคารผู้โดยสารขาออกสนามบินสุวรรณภูมิ ตลอดจนการจัดการในปัจจุบันเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นและความพึงพอใจในการปฏิบัติการตรวจของเหลว เจล สเปรย์ ที่มีปริมาตรเกินกำหนด รวมถึงวัตถุอันตรายต่าง ๆ และเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการขยะตรวจค้นของอาคารผู้โดยสารขาออก สนามบินสุวรรณภูมิ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่าง 400 คน โดยวิธีการตอบแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตการณ์
ผลการวิจัยพบว่าในปัจจุบันสภาพปัญหาขยะตรวจค้นในอาคารผู้โดยสารขาออกสนามบินสุวรรณภูมิยังไม่ได้รับการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง อีกทั้งผู้โดยสารยังไม่ให้ความสนใจกับจุดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการปฏิบัติการตรวจของเหลว เจล สเปรย์ ที่มีปริมาตรเกินกำหนด รวมถึงวัตถุอันตรายต่าง ๆ ที่ทางสนามบินจัดแสดงไว้ก่อนทำการเช็คอิน ด้านสายการบินมีการแสดงสื่อประชาสัมพันธ์ก่อนทำการเช็คอินแต่ค่อนข้างน้อย อีกทั้งมีขนาดของสื่อที่มีขนาดเล็กจึงมิค่อยได้รับความสนใจจากผู้โดยสารและการมีส่วนร่วม ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นในปฏิบัติการตรวจของเหลว เจล สเปรย์ ที่มีปริมาตรเกินกำหนด รวมถึงวัตถุอันตรายต่าง ๆ คือ ผู้โดยสารที่มีเพศที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นในการปฏิบัติการตรวจของเหลว เจล สเปรย์ ที่มีปริมาตรเกินกำหนด รวมถึงวัตถุอันตรายต่าง ๆ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และการรับทราบข้อมูลข่าวสาร และความเข้าใจในการปฏิบัติการตรวจของเหลว เจล สเปรย์ ที่มีปริมาตรเกินกำหนด รวมถึงวัตถุอันตรายต่าง ๆ ที่แตกต่างทำให้มีความคิดเห็นในปฏิบัติการตรวจของเหลว เจล สเปรย์ ที่มีปริมาตรเกินกำหนด รวมถึงวัตถุอันตรายต่าง ๆ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557 .

Subject(s):

วิจัยเชิงปริมาณ

Keyword(s):

สนามบินสุวรรณภูมิ
สภาพปัญหาขยะ
วัตถุอันตราย

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

158 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3616
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • ba187608.pdf ( 3,945.41 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSSDE: Theses [555]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×