ความต้องการข้อมูล การแสวงหาข้อมูล และการรับรู้ตราสินค้าสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย
Publisher
Issued Date
2014
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
177 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba187853
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ประกาศิต รักษาแก้ว (2014). ความต้องการข้อมูล การแสวงหาข้อมูล และการรับรู้ตราสินค้าสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3652.
Title
ความต้องการข้อมูล การแสวงหาข้อมูล และการรับรู้ตราสินค้าสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย
Alternative Title(s)
Information needs, information seeking and brand perception of Thai Smile Airways among Thai passengers
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการข้อมูลสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย 2) การแสวงหาข้อมูลสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย 3) การรับรู้ตราสินค้าสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย 4) ความแตกต่างระหว่างลักษณะทางประชากรกับความต้องการข้อมูล ลักษณะทางประชากรกับการแสวงหาข้อมูล และลักษณะทางประชากรกับการรับรู้ตราสินค้าสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย 5) ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการข้อมูลกับการแสวงหาข้อมูล และการแสวงหาข้อมูลกับการรับรู้ตราสินค้าสายการบินไทยสมายล์ของผู้โดยสารชาวไทย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือผู้โดยสารชาวไทยที่ใช้บริการเที่ยวบินสายการบินไทยสมายล์จานวน 400 คน การเลือกตัวอย่างใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) สถิติทดสอบ F-test หรือค่าสถิติทดสอบ LSD และวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือผู้โดยสารชาวไทยที่ใช้บริการเที่ยวบินสายการบินไทยสมายล์จานวน 400 คน การเลือกตัวอย่างใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) สถิติทดสอบ F-test หรือค่าสถิติทดสอบ LSD และวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557