การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทโดยยุติธรรมชุมชน
Publisher
Issued Date
2014
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
192 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba185715
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ทนัทรยา ธีรัชธชาโชติ (2014). การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทโดยยุติธรรมชุมชน. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3655.
Title
การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทโดยยุติธรรมชุมชน
Alternative Title(s)
Disputes by mediation, restoration justice community participation
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาเรื่อง การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพากษาโดยยุติธรรมชุมชนในครั้งนี้ มีวัตุประสงค์เพื่อ ศึกษาลักษณะของกลางในการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท ขอบเขตของข้อพิพาทที่ไกล่เกลี่ยโดยยุติธรรมชุมชน รูปแบบและวิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของยุคติธรรมชุมชนที่ใช้อยู่ในปัจจุบันสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้
1) คุณลักษณะของกลางในการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท จากการศึกษาพบว่ากฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพิาททางแพ่ง พ.ศ. 2553 มีการกำจัดคุณลักษณะของผู้ไกล่เกลี่ยเอาไว้หลายกรณี ทำให้เป็นอุปสรรคที่ชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในฐานะผู้ไกล่เกลี่ยตามกฎหมาย และไม่สอดคล้องกับการไกล่เกลี่ยในชุมชนในทางปฏิบัติ ผู้ศึกษาจึงเห็นว่า ควรแก้ไขคุณสมบัติของคนกลางไว้กว้างขึ้น เชน เป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว และประกอบอาชีพใดก็ได้เป็นต้น
2) ขอบเขตของข้อพิพาทที่ยุติธรรมชุมชนสามารถไกล่เกลี่ยได้ จากการศึกษาพบว่ากฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและบระนอมข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ.2553 กฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยความผิดที่มีดทษทางอาญา พ.ศ. 2553 กำหนดข้อพิพาทที่ให้คนกลางสามารถไกล่เกลี่ยได้ไม่สอดคล้องกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยยุติธรรมชุมชน โดยคดีอาญาบางประเภทยุติธรรมชุมชนควรสามารถไกล่เกลี่ยได้ด้วย ได้แก่ ข้อพิพาทที่เป็นความผิดอันยอมความได้ และความผิดเกี่ยวกับเพศที่ผู้กระทำความผิดเป็นเด็กและเยาวชน โดยลักษณะของการกระทำความผิดต้องมิใช่เป็นการโทรมหญิง และผู้เสียหายต้องไม่ได้รับบาดเจ็บจากการกระทำนั้นถึงขั้นอันตรายสาหัส
1) คุณลักษณะของกลางในการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท จากการศึกษาพบว่ากฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพิาททางแพ่ง พ.ศ. 2553 มีการกำจัดคุณลักษณะของผู้ไกล่เกลี่ยเอาไว้หลายกรณี ทำให้เป็นอุปสรรคที่ชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในฐานะผู้ไกล่เกลี่ยตามกฎหมาย และไม่สอดคล้องกับการไกล่เกลี่ยในชุมชนในทางปฏิบัติ ผู้ศึกษาจึงเห็นว่า ควรแก้ไขคุณสมบัติของคนกลางไว้กว้างขึ้น เชน เป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว และประกอบอาชีพใดก็ได้เป็นต้น
2) ขอบเขตของข้อพิพาทที่ยุติธรรมชุมชนสามารถไกล่เกลี่ยได้ จากการศึกษาพบว่ากฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยและบระนอมข้อพิพาททางแพ่ง พ.ศ.2553 กฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยความผิดที่มีดทษทางอาญา พ.ศ. 2553 กำหนดข้อพิพาทที่ให้คนกลางสามารถไกล่เกลี่ยได้ไม่สอดคล้องกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยยุติธรรมชุมชน โดยคดีอาญาบางประเภทยุติธรรมชุมชนควรสามารถไกล่เกลี่ยได้ด้วย ได้แก่ ข้อพิพาทที่เป็นความผิดอันยอมความได้ และความผิดเกี่ยวกับเพศที่ผู้กระทำความผิดเป็นเด็กและเยาวชน โดยลักษณะของการกระทำความผิดต้องมิใช่เป็นการโทรมหญิง และผู้เสียหายต้องไม่ได้รับบาดเจ็บจากการกระทำนั้นถึงขั้นอันตรายสาหัส
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557