• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

การวิเคราะห์กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายการควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

by จิรัชญา สิงห์มณี

ชื่อเรื่อง:

การวิเคราะห์กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายการควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Analysis of laws and law enforcement concerning air pollution emission control in petrochemical industry

ผู้แต่ง:

จิรัชญา สิงห์มณี

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

จุฑารัตน์ ชมพันธุ์

ชื่อปริญญา:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

คณะ/หน่วยงาน:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2560

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

งานวิจัยเรื่องการวิเคราะห์กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายการควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรมปิโตรเคมี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาช่องว่างทางกฎหมายการควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของประเทศไทย และเพื่อเสนอแนะแนวการพัฒนากฎหมายการควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรมปิโตรเคมี กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดมาตรการทางกฎหมายด้านการควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศของประเทศไทย นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมนักวิชาการด้านกฎหมาย องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม กลุ่มผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้า และภาคประชาชน การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์โดยวิธี  SWOT ANALYSIS ผลการศึกษาเมื่อพิจารณาโดยวิธี SWOT ANALYSIS พบว่าช่องว่างทางกฎหมายที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากการที่ภาคอุตสาหกรรมไม่ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดอีกทั้งยังขาดการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และบางส่วนเกิดจากการที่ภาครัฐขาดการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายให้มีความทันสมัยมากขึ้น ทำให้ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณข้างเคียงและก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อม
The study of “Analysis laws and law enforcement concerning air pollution emission control in petrochemical industry” aims to find out the gap of Thailand’s environmental legislation and to suggest possible processes to develop the air pollution from petrochemical industrial sector control laws. The target groups that researchers aim to study are Thai government sector dealing with the promotion of Thailand’s air pollution prevention related laws, private environmental organizations, and manufacturers, traders as well as the general public. This study is the qualitative research of which the data was collected from interviews and analyzed by SWOT ANALYSIS. The results gathering from SWOT ANALYSIS revealed that most of the flaws in environmental legislation are from industrial sector since the industrial sector does not abide by the laws. The industrial sector also does not apply the good management practices on environment. Moreover, the air pollution prevention related laws are not improved or updated by the government sector. Due to these problems, it causes the degeneration of environment and affects directly to the people living nearby the industries in several ways.

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

หัวเรื่องมาตรฐาน:

มลพิษทางอากาศ -- วิจัย
มลพิษทางอากาศ -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
มลพิษทางอากาศ
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย
มลพิษทางอากาศ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย

คำสำคัญ:

e-Thesis
การระบายมลพิษทางอากาศ
การบังคับใช้กฎหมาย
การควบคุมการระบายมลพิษ

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

164 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3772
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b199701e.pdf ( 2,583.05 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [96]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×