Now showing items 1-3 of 3

  • Thumbnail

    กลวิธีการนำเสนอประเด็นเหยียดเชื้อชาติและการเลือกปฏิบัติต่อชาวแอฟริกัน-อเมริกาในภาพยนตร์ฮอลลีวูด : การวิเคราะห์ตัวบท 

    รัชชา เชาวน์ศิริ; สาวิตรี คทวณิช (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    งานวิจัยชิ้น นี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการเล่าเรื่องเกี่ยวกับประเด็นเหยียดเชื่อ ชาติและการเลือกปฏิบัติต่อชาวแอฟริกัน-อเมริกันและเพื่อศึกษากระบวนการสร้างและนำเสนอภาพลักษณ์รวมถึงการสร้างภาพเหมารวมของตัวละครผิวดำและผิวขาวในภาพยนตร์ฮอลลีวูด โดยอาศัยแนวคิดเรื่องการเหยียดเชื่อ ชาติและบทบาทของสื่อภาพยนตร์ต่อความสัมพันธ์ทางเชื่อ ชาติและชาติพันธุ์ร่วมกับแนวคิดการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ รวมถึงทฤษฎีสัญญะวิทยาและการสร้างความหมายในภาพยนตร์ในการวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) และเก็บข้อมูลจากภาพยนตร์กลุ่มตัวอย่างทั้ง ...
  • Thumbnail

    การนำเสนอผู้หญิงและความรุนแรงในภาพยนตร์ไทย 

    พรจันทร์ เสียงสอน; สาวิตรี คทวณิช (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014)

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์การนาเสนอผู้หญิงและความรุนแรงในภาพยนตร์ไทย โดยอาศัยวัตถุประสงค์หลักในการศึกษา และกรอบแนวคิด ทฤษฎีสตรีนิยม แนวคิดเรื่องความรุนแรง ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ แนวคิดการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ และแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบสร้างความจริงทางสังคม โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ตัวบทภาพยนตร์ไทยจำนวน 10 เรื่อง จากการวิเคราะห์ภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับผู้หญิงและความรุนแรงจำนวน 10 เรื่องดังกล่าว พบว่า มีการนำเสนอภาพผู้หญิงและพฤติกรรมความรุนแรงที่มีความสอดคล้องกับความเป็นจริงมากขึ้น ตัวละครเอกที่เป็นผู้หญิงในภา ...
  • Thumbnail

    การศึกษา การสื่อสารเพื่อจัดการความขัดแย้ง: วาทกรรม พื้นที่สาธารณะ ประชาธิปไตย กรณีศึกษา รายการเถียงให้รู้เรื่องทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส 

    ชนาภา เมืองงามสมบูรณ์; สาวิตรี คทวณิช (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)

    บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อจัดการความขัดแย้ง ที่ เกี่ยวข้องกับวาทกรรม พื้นที่สาธารณะ และประชาธิปไตย ผ่านการนำเสนอจากสื่อมวลชนในรูปแบบ ของรายการโทรทัศน์ กรณีศึกษา รายการเถียงให้รู้เรื่อง ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส งานวิจัยเก็บ ข้อมูลจากยูทูปโดยเลือกเก็บรายการ 5 ตอนที่มียอดชมสูงสุดและเป็นตัวแทนของประเด็นที่รายการนี้ มักจะนำเสนอเป็นหลักสามประเด็นได้แก่ เรื่องการเมือง สังคมและกฎหมาย การวิจัยครั้งนี้เป็นการ วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดำเนินการตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Discourse ...