แนวทางการจัดการผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวกรณีศึกษา เกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
401 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b203112
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
อาภาภรณ์ หาโส๊ะ (2017). แนวทางการจัดการผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวกรณีศึกษา เกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4041.
Title
แนวทางการจัดการผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวกรณีศึกษา เกาะหลีเป๊ะ จังหวัดสตูล
Alternative Title(s)
Social impacts management a case study of Lipe Island, Satun Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะในปัจจุบัน 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของประชาชนที่มีต่อผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะในปัจจุบัน 3) ศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อผลกระทบทางสังคมที่ส่งผลต่อการสนับสนุน (พฤติกรรมของเจ้าบ้าน) การพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะในปัจจุบัน และ 4) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะในปัจจุบัน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) ในการศึกษาตามวัตถุประสงค์ที่1, 2 และ 3 นั้น ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณซึ่งใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 384 คน ที่เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เกาะหลีเป๊ะ และใช้สถิติร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติ t-test สถิติ F-test และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)ในการวิเคราะห์ข้อมูล และใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ในการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลัก 7 ท่าน เพื่อเสนอแนวทางการจัดการผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะในปัจจุบัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อผลกระทบทางสังคมทั้งเชิงบวกและเชิงลบโดยรวมอยู่ในระดับ เห็นด้วย โดยกลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อผลกระทบทางสังคมเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ (ค่าเฉลี่ย 3.93 และ 3.51 ตามลำดับ) ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของประชาชนในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ เพศ ช่วงอายุ การจบการศึกษา ระยะทางจากที่อยู่อาศัยถึงหาดพัทยาหรือหาดบันดาหยา รายได้ต่อเดือน (บาท) อาชีพ สถานที่เกิด ระยะเวลาที่อยู่อาศัยในพื้นที่เกาะหลีเป๊ะ ความรู้สึกผูกพันกับเกาะหลีเป๊ะ ความรู้สึกที่มีต่อนักท่องเที่ยว การเป็นสมาชิกกลุ่มต่างๆที่เกิดขึ้นในเกาะหลีเป๊ะ การมีส่วนร่วมในการวางแผนด้านการท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามแผนด้านการท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการท่องเที่ยว และการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลด้านการท่องเที่ยว และพบว่าทัศนคติของประชาชนที่มีต่อผลกระทบทางสังคมทั้งเชิงบวกและเชิงลบฯนั้นส่งผลต่อการสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะ
จากผลการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการจัดการผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะในเชิงนโยบาย ได้แก่ นโยบายการการสร้างรายได้เสริมให้กับประชาชนในพื้นที่ นโยบายการส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศ นโยบายการส่งเสริมทักษะการให้บริการ นโยบายด้านคุณภาพของการเดินทาง นโยบายด้านการกำหนดและควบคุมราคาที่พัก บัตรโดยสาร และค่าธรรมเนียม นโยบายการเรียนรู้ระบบการทำงานทั้งระบบของเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว นโยบายการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะ และ นโยบายการบริหารจัดการในพื้นที่เกาะหลีเป๊
The aims of this research are to; 1) examine resident’s attitudes toward social impacts from tourism development, 2) examine the factors affecting to resident’s attitudes toward social impacts from tourism development, 3) explore levels of tourism support from residents in the area and 4) present the guidelines of Social impacts management. Lipe island in Satun province has been selected for this study. This is a mixed methods research; for quantitative research, questionnaire was used as an instrument to collect data from 384 samples with were the residents who live on Lipe island. Both descriptive and inferential statistics were used; which consists of percentage, mean, standard deviation, t-tes, F-test and multiple regression analysis and used a structured interview to collect data from 7 key informants to present the guidelines of Social impacts management. The results of the research found that the overall of resident’s attitudes toward social positive impacts of tourism development were agreed (Mean = 3.93) and overall of resident’s attitudes toward social negative impacts of tourism development were agreed (Mean = 3.51). The result of the factors affecting to resident’s attitudes toward social impacts from tourism development are; gender, age, education, the distant from living area to tourism activities zone, the length of residence, bound with the area, the host's feelings to tourists, groups memberships and the participation in planning, proceeding, using resources and following and evauating. The finding also revealed that both resident’s attitudes toward social positive and negative impacts from tourism development has an influence on their levels of support on tourism development on Lipe island. The social impacts management presented in policies, which consist of The policy of making extra income to people in the area, Foreign language skills promotion policy, Service skills promotion policy, Quality policy of travel, Pricing policy and regulations on accommodation, ticketing and fees, The learning system of government officials involved in tourism, Integrated policy for tourism development on Lipe island and management policy in Lipe island.
The aims of this research are to; 1) examine resident’s attitudes toward social impacts from tourism development, 2) examine the factors affecting to resident’s attitudes toward social impacts from tourism development, 3) explore levels of tourism support from residents in the area and 4) present the guidelines of Social impacts management. Lipe island in Satun province has been selected for this study. This is a mixed methods research; for quantitative research, questionnaire was used as an instrument to collect data from 384 samples with were the residents who live on Lipe island. Both descriptive and inferential statistics were used; which consists of percentage, mean, standard deviation, t-tes, F-test and multiple regression analysis and used a structured interview to collect data from 7 key informants to present the guidelines of Social impacts management. The results of the research found that the overall of resident’s attitudes toward social positive impacts of tourism development were agreed (Mean = 3.93) and overall of resident’s attitudes toward social negative impacts of tourism development were agreed (Mean = 3.51). The result of the factors affecting to resident’s attitudes toward social impacts from tourism development are; gender, age, education, the distant from living area to tourism activities zone, the length of residence, bound with the area, the host's feelings to tourists, groups memberships and the participation in planning, proceeding, using resources and following and evauating. The finding also revealed that both resident’s attitudes toward social positive and negative impacts from tourism development has an influence on their levels of support on tourism development on Lipe island. The social impacts management presented in policies, which consist of The policy of making extra income to people in the area, Foreign language skills promotion policy, Service skills promotion policy, Quality policy of travel, Pricing policy and regulations on accommodation, ticketing and fees, The learning system of government officials involved in tourism, Integrated policy for tourism development on Lipe island and management policy in Lipe island.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560