การศึกษาเปรียบเทียบการทุจริตเลือกตั้งขององค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลในจังหวัดชลบุรี
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
130 เเผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b196941
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ทัตดนัย คุ้มครอง (2016). การศึกษาเปรียบเทียบการทุจริตเลือกตั้งขององค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลในจังหวัดชลบุรี. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4130.
Title
การศึกษาเปรียบเทียบการทุจริตเลือกตั้งขององค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลในจังหวัดชลบุรี
Alternative Title(s)
A comparative study of election frauds between Tambon Administrative Organization and Municipality in Chonburi Province
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาการศึกษาเปรียบเทียบการทุจริตเลือกตั้งขององค์การบริหารส่วนตําบลและเทศบาลในจังหวัชลบุรี ทําการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ใน การศึกษาเพื่อศึกษารูปแบบการทุจริตเลือกตั้งโดยเปรียบเทียบระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบล A (นามสมมุติ) และเทศบาลตําบล B (นามสมมุติ) และเพื่อหาแนวทางการแก้ไข และป้องกันปัญหา การทุจริตเลือกตั้งในรูปแบบต่าง ๆ ผู้ศึกษาได้ศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและ รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลที่สําคัญทั้งหมด 12 คน โดยใช้แนวการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก รวมถึง การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษา พบว่า การใช้หัวคะแนน ระบบอุปถัมภ์ การวางแผน การเลือกตั้ง เป็นลักษณะทั่วไปของการเลือกตั้งทุกแห่งที่จะต้องมี และหากในองค์การบริหารส่วน ตําบล 4 และเทศบาล B มีการใช้หัวคะแนน ระบบอุปถัมภ์ การวางแผนการเลือกตั้งมีการใช้ในทาง ที่ผิดส่งผลต่อการทําการทุจริตการเลือกตั้ง และพบว่า รูปแบบการทุจริตเลือกตั้งขององค์การบริหาร ส่วนตําบล 4. มีรูปแบบการทุจริตการเลือกตั้งการซื้อเสียง การโกงแบบย้ายคนเข้าและออก การจัด ให้มีคนของตนเป็นคณะกรรมการเลือกตั้ง และในส่วนของเทศบาล B มีรูปแบบการทุจริตการ เลือกตั้งรูปแบบการซื้อเสียง การตลาดการเมือง และการใช้อํานาจรัฐ และเมื่อทําการเปรียบเทียบ รูปแบบการทุจริตการเลือกตั้งระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบล A และเทศบาล B พบว่า มีรูปแบบ การทุจริตการเลือกตั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน รูปแบบการทุจริตการเลือกตั้งที่เหมือนกัน คือ รูปแบบการทุจริตการซื้อเสียง ส่วนที่รูปแบบการทุจริตการเลือกตั้งที่แตกต่างกัน คือ องค์การ บริหารส่วนตําบล A มีรูปแบบการย้ายคนเข้าและย้ายคนออก รูปแบบ การจัดให้มีคนของตนใน กรรมการเลือกตั้ง รูปแบบการใช้อิทธิพล ในขณะที่ เทศบาล B ไม่มี และในส่วนของเทศบาล B มีส่วนที่รูปแบบการทุจริตการเลือกตั้ง ที่แตกต่างกันคือ รูปแบบการใช้การตลาดการเมือง รูปแบบการใช้อำนาจรัฐ ในขณะที่ องคก์ ารบริหารส่วนตำ บล A ไม่มี
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การเมืองและยุทธศาสตร์การพัฒนา))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559