การวิเคราะห์เหมืองข้อเสนอแนะจากบทวิจารณ์รายการโทรทัศน์
Publisher
Issued Date
2012
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
107 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กานดา แผ่วัฒนากุล (2012). การวิเคราะห์เหมืองข้อเสนอแนะจากบทวิจารณ์รายการโทรทัศน์. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/429.
Title
การวิเคราะห์เหมืองข้อเสนอแนะจากบทวิจารณ์รายการโทรทัศน์
Alternative Title(s)
Suggestion mining from reviewers' reviews of television programs
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ข้อเสนอแนะของผู้บริโภคช่วยบ่งชี้ว่าธุรกิจควรปรับปรุงในทิศทางใ ด แต่เนื่องจาก อินเตอร์เน็ตมีบทวิจารณ์จำนวนมาก ทั้งข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะปะปนกัน อีกทั้ง โครงสร้างประโยคที่ไม่แน่นอนทำให้ยากต่อการตีความ การจำแนกประเภทข้อมูลจะช่วยให้ ประมวลผลได้ดีขึ้น บทความวิจัยนี้จึงนำเสนอกระบวนการแก้ปัญหาดังกล่าว ได้แก่ (1) กระบวนการจำแนกข้อเสนอแนะออกจากบทวิจารณ์ประเภทอื่น โดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ของ อัลกอริทึมต้นไม้ตัดสินใจ นาอีฟเบย์ และซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน เพื่อหาอัลกอริทึมที่เหมาะสม ที่สุด (2) กระบวนการจำแนกประเภทข้อเสนอแนะ ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ข้อเสนอแนะทางตรง ข้อเสนอแนะเชิงขอร้อง ข้อเสนอแนะเชิงคำถาม และข้อเสนอแนะเชิงเงื่อนไข การทดลองใช้บทวิจารณ์ทั้งสิ้น 2,561 ประโยค พบว่าอัลกอริทึมซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน แบบเคอร์เนลโพลิโนเมียล ที่มีอินพุตเวกเตอร์ประกอบด้วยคำกับการกำกับค าที่เกิดขึ้นร่วมกันบ่อย ได้ผลลัพธ์การจำแนกข้อเสนอแนะดีที่สุด มีค่าความแม่นยำ 85.75% ค่าความระลึก93.62% และค่าถ่วงดุล 89.51% จากนั้นจำแนกประเภทข้อเสนอแนะและวัดประสิทธิภาพด้วยค่าเฉลี่ยแบบให้ น้ำหนักทุกประเภทเท่ากัน (Micro averaging) ได้ค่าความแม่นยำ 94.94% และความระลึก94.94% กระบวนการที่นำเสนอถือว่ามีความถูกต้องสูงสำหรับข้อเสนอแนะที่ไม่มีความกำกวม ช่วย ลดระยะเวลาการอ่านบทวิจารณ์และข้อเสนอแนะลงได้
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012