Browsing GSL: Theses by Title
Now showing items 54-73 of 217
-
การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทโดยยุติธรรมชุมชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การศึกษาเรื่อง การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพากษาโดยยุติธรรมชุมชนในครั้งนี้ มีวัตุประสงค์เพื่อ ศึกษาลักษณะของกลางในการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท ขอบเขตของข้อพิพาทที่ไกล่เกลี่ยโดยยุติธรรมชุมชน รูปแบบและวิธีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของยุคติธรรมชุมชนที่ใช้อยู่ในปัจจุบันสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ -
การได้มาซึ่งตุลาการหรือผู้พิพากษากับความชอบธรรมในทางประชาธิปไตย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
จากประเด็นปัญหาที่ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ออกมาเสนอให้มีการยุบศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญให้กลายเป็นแผนกหนึ่งของศาลฎีกาแล้วให้กลับไปใช้รูปแบบคณะตุลาการศาล รัฐธรรมนูญ รวมทั้งให้มีการปฏิรูปกฎหมายว่าด้วยการได้มาซึ่งตุลาการหรือผู้พิพากษา โดยกล่าวอ้าง ถึงการได้มาซึ่งตุลาการหรือผู้พิพากษาปราศจากซึ่งความชอบธรรมในทางประชาธิปไตย ผู้วิจัยได้ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหากรณีองค์กรตุลาการต้องเผชิญกับข้อกล่าวอ้างถึงความขอบธรรม ในทางประชาธิปไตยกับการไต้มาซึ่งตุลาการหรือผู้พิพากษาตังกล่าว และหากมีการยุบศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญโดยกลับไปใช้ระบบศาลเตี่ ... -
ขอบเขตของการเป็น"ผู้ใช้": ศึกษากรณีผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำความผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำความผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
ในเรื่องผู้ร่วมกระทำความผิดหลายคนในคดีอาญา ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึง เฉพาะ ผู้ร่วมกระทำความผิดที่เป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุนเท่านั้น ในกรณีที่มีผู้กระทำความผิดหลายคน เนื่องจากในระบบกฎหมายอาญาของไทย เป็นระบบที่ยอมรับหลักการลดหย่อนโทษผุู้ร่วมกระทำความผิด ดังนั้นหากเกิดกรณีที่ต้องวิเคราะห์ว่าผู้ใดเป็นผู้ใช้ เเละผู้ใดเป็นผู้สนับสนุน ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ เราจะใช้หลักเกณฑ์อะไรมาเป็๋นจุดแบ่งแยกของการาใช้เเละการสนับสนุน นอกจากนี้ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะต้องรับผิดในฐานอะไรบ้าง โดยเฉพาะเมื่อปี 2553 เนติบัญฑิตยสภาได้ออกข้อสอบกลุ่มวิชาอาญา เพื่อทดสอบน ... -
ขอบเขตของวิสาหกิจมหาชนกรณีที่ต้องแข่งขันกับเอกชน ศึกษากรณี บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016);
หลักการสำคัญของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมสมัยใหม่ คือ การให้เอกชนดำเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจได้อย่างเสรีและต้องการจำกัดอำนาจรัฐในทางเศรษฐกิจ กิจการใดที่เอกชนสามารถ ประกอบการได้รัฐต้องให้เอกชนเป็นผู้ประกอบการ รัฐจะทำหน้าที่เป็นผู้ประกอบการหรือลงทุน ในกิจการที่เอกชนไม่สามารถทำได้หรือไม่เต็มใจที่จะรับภาระ รวมทั้งกิจการที่เป็นการรักษา ประโยชน์สาธารณะเท่านั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้รับรองแนวความคิดทางเศรษฐกิจ แบบเสรีนิยมสมัยใหม่ไว้อย่างชัดเจน โดยห้ามมิให้รัฐประกอบกิจการที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันกับ เอกชนเว้นแต่มีความจำเป็นเพื่อประ ... -
ข้อบกพร่องบางประการของร่างพระราชบัญญัติบริษัทจำกัดคนเดียว พ.ศ. ...
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019);
ความมุ่งหมายในการจัดทําร่างพระราชบัญญัติบริษัทจํากัดคนเดียว พ.ศ. .... เพื่อ วัตถุประสงค์ในการจํากัดความรับผิดของเจ้าของทุนให้รับผิดตามที่เจ้าของทุนได้ลงทุนไว้ในบริษัท เท่านั้น อันเป็นการจูงใจให้เกิดการลงทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุน ธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้นให้สามารถอยู่รอดและได้รับสิทธิประโยชน์ทางการเงินรวมถึงหลักประกัน ที่รัฐคอย กํากับและส่งเสริมกิจการ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวยังมีข้อบกพร่องสําคัญอยู่สี่ประการด้วยกัน คือ ประการที่หนึ่ง ปัญหาข้อจํากัดในเรื่องของการเป็นเจ้าของทุนที่จํากัดให้บุคคลคนหนึ่งจัดตั้งบริษัท ... -
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับที่มาหน้าที่และอำนาจของสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และปัญหาของที่มา หน้าที่และ อำนาจของวุฒิสภาของประเทศไทย เปรียบเทียบกับที่มา หน้าที่และอำนาจของวุฒิสภาประเทศ อเมริกา ประเทศฝรั่งเศส และประเทศญี่ปุ่น เพื่อนำไปสู่ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางที่เหมาะสมใน การวางระบบวุฒิสภา ที่มา หน้าที่และอ านาจของวุฒิสภาส าหรับประเทศไทย จากการศึกษาพบว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้ วุฒิสภาแบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา โดยช่วงเวลาแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 250 คน มาจาก การสรรหา ซึ่งไม่ได้มีที่มาที่เกี่ยวเนื่องกับประชาชน และช่วงที่สอง ... -
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ในการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting บนโทรศัพท์เคลื่อนที่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
ในปัจจุบันมีการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งโทรศัพท์เคลื่อนที่มี ความสามารถและคุณลักษณะเช่นเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บบันทึกข้อมูล และนำข้อมูลที่ได้ทำการบันทึกนั้นกลับมาใช้งานใหม่ เทคโนโลยี Time-shifing ซึ่งเป็นการบันทึก รายการโทรทัศน์หรือวิทยุไว้เพื่อรับชมรับฟังในภายหลัง อันมีลักษณะของการทำซ้ำงานอันมีลิขสิทธิ์ ดังนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting บน โทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นเป็นการละเมิดลิซสิทธิ์หรือไม่ และพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ได้กำหนด หลักก ... -
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมในธุรกิจแฟรนไชส์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษากรณีข้อสัญญาไม่เป็นธรรมในธุรกิจแฟรนไชส์ เพื่อวิเคราะห์หาแนวทางแก้ไขปัญหาข้อสัญญาไม่เป็นธรรมดังกล่าว โดยมุ่งเน้นการนําเสนอ พระราชบัญญัติธุรกิจแฟรนไชส์เพื่อเป็นการกํากับดูแลในข้อสัญญาแฟรนไชส์ภายใต้กฎหมายไทยและ เพื่อให้เกิดการบังคับใช้ข้อสัญญาให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันโดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาที่เป็น รูปธรรม ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศที่กําลังพัฒนา และมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่าง ต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยมีลักษณะการดําเนินธุรกิจที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องและ รวดเร็วส่งผลให้เกิดปัญหาในการประกอบธ ... -
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมของข้าราชการส่วนท้องถิ่นตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013);
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (2550) กำหนดให้ต้องมีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยระบุให้มีการดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี นับตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎร หลังการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ แต่จนบัดนี้ยังมิได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมขึ้นในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และยังมิได้มีการศึกษาถึงโครงสร้างตลอดจนอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพิทักษ์คุณธรรมแต่อย่างใด ... -
ความผิดทางอาญา: กรณีการคุกคามทางเพศ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017);
เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศของสังคมไทยในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นความผิด เกี่ยวกับเพศที่เกิดขึ้นง่ายที่สุดในสังคม ทั้งยังเพิ่มจํานวนและทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ความ เข้าใจที่คนทั่วไปในสังคมมีต่อการคุกคามทางเพศยังคลุมเครือ ไม่ชัดเจนว่าพฤติกรรมใดบ้างที่สามารถ เรียกได้ว่าเป็นการคุกคามทางเพศ ตลอดจนการที่กฎหมายปัจจุบันที่ยังไม่ตอบสนองต่อการป้องกันและ ปราบปรามการคุกคามทางเพศ ปัญหานี้จึงยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างที่ควร ซึ่งการศึกษาวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความหมาย รูปแบบ ลักษณะของพฤติกรรมในการคุกคามทางเพศ รวมทั้ง ผลกระทบของปัญห ... -
ความรับผิดของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ผ่านการใช้ BitTorrent Protocol
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาถึงความรับผิดของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ผ่านการ ใช้ BitTorrent Protocol มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ขอบเขตการให้ความคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์ โดยศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และประเทศสวีเดน พร้อมทั้ง เสนอแนวทางที่เหมาะสมในการกำหนดความรับผิดของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ ผ่านการใช้งาน BitTorrent Protocol จากการศึกษาพบว่า ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สามารถกำหนดความรับผิด ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ผ่านการใช้ BitTorrent Protocol ... -
ความรับผิดของรัฐต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยพิเศษ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความรับผิดของรัฐต่อเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยพิเศษว่าลักษณะของการปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยเป็นพิเศษนั้นมีลักษณะอย่างไร รัฐควรมีหลักเกณฑ์ความรับผิดของรัฐในเรื่องของค่าตอบแทน หรือการเยียวยาความเสียหายแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยพิเศษเป็นอย่างไร โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นแนวทำงในการพัฒนาแนวความคิดว่าด้วยความรับผิดของรัฐต่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยพิเศษในระบบกฎหมาย อันมีนัยสำคัญอันจะนำไปสู่การพัฒนาหลักเกณฑ์ความรับผิดของรัฐที่จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชน ... -
ความรับผิดชอบของผู้ขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ: ศึกษากรณีการล่าช้า
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020);
วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเกี่ยวกับความรับผิดของผู้ขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ โดยศึกษาเนื้อหาภายใต้กฎหมายการรับขนทางอากาศระหว่างประเทศ ซึ่งได้ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมา แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดของผู้ขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ และวิวัฒนาการของกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นอันเกิดจากการล่าช้าในการรับขน เนื่องจากการล่าช้าในการรับขนหรือขนส่งทางอากาศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการกำหนดขอบเขตความหมายหรือคำนิยามของคำว่าการล่าช้า รวมถึงผลดีและผลเสียจากการไม่มีคำนิยามของคำว่าการล่าช้าในการรับขนทางอากาศ ... -
ความรับผิดทางกฎหมายของผู้อำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017);
งานวิจัยฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาค้นคว้าเฉพาะเรื่องความรับผิดทางกฎหมายของผู้อำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ในความเสียหายอันเกิดจากการปฏิบัติงาน เชื่อมโยงกับการรับรองมาตรฐานและคุณภาพของธุรกิจเพราะเป็นหลักการที่นำมาสู่การกำหนดขอบเขตความรับผิดทางกฎหมายของผู้อำนวยความสะดวกฯ อย่างสมเหตุสมผล ประกอบกับหน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบในการควบคุมและกำกับดูแล โดยศึกษาบทกฎหมายไทยที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบันประกอบกับแนวทางการกำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงานของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี และประเทศอิสราเอล เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดการคุ้มค ... -
ความรับผิดทางอาญาของเจ้าของพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการจำหน่ายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์บนเว็บไซต์กรณีให้เช่าพื้นที่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018);
ในปัจจุบันนั้นปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยอย่างหนึ่ง คือ การละเมิดลิขสิทธิ์ในสินค้าที่มีชื่อเสียงและเป็นความต้องการของตลาด ซึ่งส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ต่อระบบเศรษฐกิจ ทำให้เจ้าของลิขสิทธิ์นั้นสูญเสียรายได้และความเชื่อมั่นในการผลิตผลงานต่อไป ซึ่งในสังคมไทยของเรานั้นจะเห็นได้ว่ามีการจำหน่ายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ในที่ต่างบนเว็บไซต์จนเป็นความเคยชิน ซึ่งทำให้เกิดการศึกษาเรื่อง ความรับผิดทางอาญาของเจ้าของพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการจำหน่ายสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์บนเว็บไซต์กรณีให้เช่าพื้นที่ ขึ้นโดยมีความมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงความจำเป็นที่จะกำหนดความรับผิดของเจ้า ... -
ความรับผิดทางแพ่งของอีมาร์เก็ตเพลสกรณีการจำหน่ายสินค้าที่ละเมิดเครื่องหมายการค้า
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2019);
ในปัจจุบันมีการนำสินค้าที่ละเมิดเครื่องหมายการค้ามาจำหน่ายบนอีมาร์เก็ตเพลสอย่างแพร่หลายสร้างความเสียหายแก่เจ้าของเครื่องหมายการค้าเป็นอย่างมาก ในพฤติการณ์นี้อีมาร์เก็ตเพลส ไม่ได้เป็นผู้ที่ละเมิดเครื่องหมายการค้าโดยตรง เป็นแต่เพียงผู้ที่อนุญาตให้ผู้ขายนำสินค้าที่ละเมิดเครื่องหมายการค้ามาจัดแสดงบนพื้นที่ออนไลน์ของตนเท่านั้นหรือที่เรียกว่าเป็นผู้ละเมิดลำดับรอง ผู้เสียหายที่เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าสามารถเยียวยาความเสียหายได้โดยเครื่องมือที่สำคัญประการหนึ่งได้แก่การฟ้องร้องเป็นคดีแพ่งเพื่อเรียกร้องค่าเสียหายจากเจ้าของอีมาร์เก็ตเพลสที่แม้จะไม่ได้ ... -
ความรับผิดอาญาในการแพร่เชื้อเอชไอวีโดยเจตนา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017);
วิทยานิพนธ์เรื่อง ความรับผิดอาญาในการแพร่เชื้อเอชไอวีโดยเจตนา มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอแนวคิดและนำเสนอความสำคัญของการกำหนดความรับผิดอาญาในการแพร่เชื้อเอชไอวีโดยเจตนา ไม่รวมถึงการแพร่เชื้อเอชไอวีโดยประมาท และไม่รวมถึงความรับผิดทางแพ่งหรือมาตรการทางกฎหมายอื่น ๆ ในการควบคุมการแพร่เชื้อเอชไอวี โดยศึกษาจากกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยไม่มีกฎหมายเฉพาะเพื่อกำหนดความรับผิดอาญาในการแพร่เชื้อเอชไอวีโดยเจตนา เหมือนเช่นในต่างประเทศที่ระบุเป็นความผิดโดยตรงและไม่ได้บัญญัติไว้เป็นฐานความผิดในประมวลกฎหมายอาญา หรือไม่เคย ... -
ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยาและการตกทอดทรัพย์สินของพระภิกษุ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2014);
ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยาจะต้องบังคับใช้กฎหมายที่มีผลใช้บังคับใน ขณะนั้นซึ่งประมวลกฎหมายที่บัญญัติให้บังคับใช้ในปัจจุบันนั้นคือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังนั้นเมื่อสมรสถูกต้องตามกฎหมายและถ้าหากภายหลังสามีอุปสมบทเป็นพระภิกษุความสัมพันธ์ทาง ทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยาก็ยังคงมีผลบังคับใช้เนื่องจากว่ากฎหมายมิได้บัญญัติให้การสมรสเป็นอัน สิ้นสุดเพราะสามีอุปสมบทจึงมีประเด็นเรื่องการตกทอดทรัพย์สินของพระภิกษุตามมาตรา 1623 โดย วางหลักไว้ว่าทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาในระหว่างอุปสมบทเมื่อภายหลังท่านมรณภาพให้ทรัพย์สินตก เป็นสมบัติของวัดท ... -
ความหมายและขอบเขตเรื่องความไม่สามารถรู้ผิดชอบและความไม่สามารถบังคับตนเองได้ ตามกฎหมายอาญา ศึกษากรณีของผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
จากการเพิ่มจำนวนผู้ป่วยที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ควบคู่ไปกับอาชญากรรมที่มีสาเหตุ มาจากความผิดปกติทางจิตของผู้กระทำความผิดที่มีมากขึ้นทุกปีจึงจำเป็นต้องมีการแก้ไขปรับปรุง บทบัญญัติที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดทางอาญาของผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 65 ในเรื่องการใช้ถ้อยคำที่เรียกผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต เนื่องจาก บาง ถ้อยคำที่ใช้เรียกผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 65 นั้นมิใช่คำศัพท์ที่ใช้ กันในทางการแพทย์แต่อย่างใดเหล่านักกฎหมาย นักอาชญาวิทยา และนักจิตแพทย์จึงต้องพยายาม ตีความหมายโดยอาศัยความรู้ความชำนา ... -
ความเป็นธรรมของการเปิดเผยพยานหลักฐานในคดีอาญา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015);
การเปิดเผยพยานหลักฐานในคดีอาญา คือ กระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงก่อนการพิจารณา คดี ซึ่งคู่ความแต่ละฝ่ายจะได้ล่วงรู้ถึงพยานหลักฐานที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งประสงค์จะอ้างอิงเป็น พยานหลักฐานของตน การเปิดเผยพยานหลักฐานก่อนการพิจารณาคดีอาญา จึงเป็นกระบวนการหนึ่ง ของวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งพัฒนาแนวความคิดพื้นฐานจากหลักการของกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาที่สําคัญ เป็นการยืนยันถึงหลักประกันแก่ผู้ต้องหาหรือจําเลยในการได้รับการพิจารณาคดี อย่างเป็นธรรม (Fair Trial) ประเทศไทยใช้ระบบกฎหมายซีวิลลอว์ (Civil Law) การดําเนินคดีอาญาเป็นไปตามหลักการ ดําเนินคดีอาญาโดยรัฐ (State ...