• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA) ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ : กรณีศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี

by จิรนนท์ พุทธา

Title:

การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA) ของยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ : กรณีศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี

Other title(s):

Strategic environmental assessment (SEA) for special economic zone (SEZ) development strategy : a case study of Kanchanaburi Provice

Author(s):

จิรนนท์ พุทธา

Advisor:

จำลอง โพธิ์บุญ

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัดกาญจนบุรี 2) เพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมจากทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการป้องกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ 3 ทางเลือก ได้แก่ 1) คือ ไม่นำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาใช้ 2) คือ มีการนำยุทธศาสตร์บางยุทธศาสตร์มาใช้ และ 3) คือ นำยุทธศาสตร์ทั้งหมดมาใช้ การประเมินใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytical Hierarchy Process: AHP) โดยการเปรียบเทียบระหว่างทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ทั้ง 3 ทางเลือก ผลการศึกษาพบว่า ทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ที่ 3 เป็นทางเลือกที่มีความเหมาะสมต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัดกาญจนบุรีมากที่สุด เนื่องจากก่อให้เกิดผลดีทางด้านเศรษฐกิจ เช่น ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการจ้างงาน ส่งผลให้ เศรษฐกิจของจังหวัดกาญจนบุรีมีการพัฒนาเติบโตยิ่งขึ้น และมีผลกระทบด้านลบที่เกิดขึ้นต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่รุนแรง มาตรการที่สำคัญในการป้ องกันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น เช่น เตรียมความพร้อมและมาตรการสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประกอบการในพื้นที่ การควบคุมดูแลและจัดระเบียบแรงงานจากภายนอกเพื่อป้องกันปัญหาอาชญากรรมและความขัดแย้ง และการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งเเวดล้อม -- ไทย -- กาญจนบุรี
การป้องกันมลพิษ -- ไทย -- กาญจนบุรี
การพัฒนาเศรษฐกิจ -- แง่สังคม -- ไทย -- กาญจนบุรี
การพัฒนาเศรษฐกิจ -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- กาญจนบุรี

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

326 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4444
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b190465.pdf ( 5,719.92 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [91]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×