แนวทางการสร้างความยั่งยืนในการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนและครัวเรือน กรณีศึกษา อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
164 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b190473
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
รสสุคนธ์ ชัยแก้ว (2015). แนวทางการสร้างความยั่งยืนในการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนและครัวเรือน กรณีศึกษา อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4454.
Title
แนวทางการสร้างความยั่งยืนในการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนและครัวเรือน กรณีศึกษา อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
Alternative Title(s)
Guidelines for sustainabilith of biogas production at community and household level : case study of Amphur Banpong
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความยั่งยืน ปัญหาและอุปสรรคในการผลิตก๊าซชีวภาพในระดับชุมชนและครัวเรือนในอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ประเมินการผลิตก๊าซชีวภาพในพื้นที่ และเสนอแนวทางการสร้างความยั่งยืนในการผลิตก๊าซชีวภาพทั้งในระดับชุมชนและครัวเรือนของพื้นที่ดังกล่าว ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง รวม 26 ราย และทำการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิร่วมด้วย นำข้อมูลทั้งหมดมาประมวลและวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎีการประเมินแบบ CIPP-I Model ได้พิจารณาผลการดำเนินการทั้ง 5 องค์ประกอบและ 16 ตัวบ่งชี้ ผลการศึกษาพบว่าความยั่งยืนในการผลิตก๊าซชีวภาพในระดับชุมชนและครัวเรือนในบางพื้นที่ศึกษายังไม่มีความต่อเนื่องของการผลิตและการใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพ มีบางครัวเรือนหันกลับมาใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) ทำให้ระบบผลิตก๊าซชีวภาพถูกทิ้งร้าง ปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ประชาชนมีส่วนร่วมเพียงบางส่วน และขาดงบประมาณในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานในระดับท้องถิ่น ผู้บริหารองค์กร และผู้นำชุมชนบางส่วนในพื้นที่ยังไม่ให้ความสำคัญกับการสนับสนุนอย่างแท้จริง ประชาชนในพื้นที่ศึกษามีความนิยมในการผลิตก๊าซชีวภาพในระดับครัวเรือนมากกว่าระดับชุมชน การใช้ประโยชน์ในการผลิตก๊าซชีวภาพยังไม่ทั่วถึง และไม่สามารถใช้ประโยชน์อื่นๆได้นอกจากหุงต้มในครัวเรือน การศึกษานี้ได้เสนอแนวทางการสร้างความยั่งยืนในการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนและครัวเรือนในพื้นที่ศึกษาไว้หลายประการ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558