• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การสร้างกลยุทธ์การซื้อขายโดยใช้การหาค่าความเหมาะสมหลายวัตถุประสงค์และการตัดสินใจโครงสร้างต้นไม้

by ชวลิต ฝ้ายเจริญ

Title:

การสร้างกลยุทธ์การซื้อขายโดยใช้การหาค่าความเหมาะสมหลายวัตถุประสงค์และการตัดสินใจโครงสร้างต้นไม้

Other title(s):

Generating trading strategies using multi-objective optimization and decision tree 

Author(s):

ชวลิต ฝ้ายเจริญ

Advisor:

โอม ศรนิล

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2018

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ตัวชี้วัดทางเทคนิคเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์การลงทุน เทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ เช่น Moving Average, Stochastic Oscillator วิธีการเหล่านี้จะอยู่บนกฎพื้นฐานทั่วไปในการตัดสินใจ งานวิจัยนี้นำเสนอเทคนิคในการสร้างกลยุทธ์ในการซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมไม่ครอบงำการจัดเรียงสองเพื่อสร้างกฎในการตัดสินใจแยกเป็นรายตัว นอกจากนี้ยังได้เพิ่มการรวมผลลัพธ์การตัดสินใจจากตัวชี้วัดทั้งหมดด้วยเทคนิคการตัดสินใจโครงสร้างต้นไม้ ผลจากการทดลองด้วยหุ้น 12 ตัวจากตลาดหุ้นประเทศไทย เปรียบเทียบกับรูปแบบการซื้อขายอื่น ๆ อีก 8 เทคนิค แสดงให้เห็นว่าเทคนิคที่นำเสนอนั้นสามารถสร้างกลยุทธ์การซื้อขายที่มีประสิทธิภาพดีกว่า
Technical analysis is a widely used approach for trading securities. Various indicators are used, such as moving average, stochastic oscillator and relative strength index. Applications of these indicators are typically based on experiences and rules of thumb which hardly are effective in general. This paper presents a technique for evolving indicator parameters using Non-Dominated Sorting Genetic Algorithm II and combining the indicators to generate a trading strategy. Experiments are conducted using actual stocks from the Stock Exchange of Thailand show that the proposed technique generates trading strategies that outperform other well-known techniques and is applicable to real world security trading.

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561

Keyword(s):

e-Thesis
ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม
การเรียนรู้ต้นไม้ตัดสินใจ
การลงทุนหลักทรัพย์
การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

66 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4478
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b204538.pdf ( 3,025.53 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [219]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×