• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

ปัญหาทางกฎหมายเรื่องความยินยอมของผู้บริจาคอวัยวะที่เสียชีวิตจากสมองตายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

by ณัฐวีร์ อสิพงษ์

ชื่อเรื่อง:

ปัญหาทางกฎหมายเรื่องความยินยอมของผู้บริจาคอวัยวะที่เสียชีวิตจากสมองตายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Legal problems on the consent of the organ donors who passed away from brain dead and their concerned parties

ผู้แต่ง:

ณัฐวีร์ อสิพงษ์

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

เกียรติพร อำไพ

ชื่อปริญญา:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

คณะ/หน่วยงาน:

คณะนิติศาสตร์

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2561

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาทางด้านกฎหมายเกี่ยวกับการให้ความยินยอมของผู้บริจาค อวัยวะที่เสียชีวิตและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย โดยศึกษาเปรียบเทียบกับแนวทางการปลูกถ่ายอวัยวะขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization) หรือ WHO และมาตรการทางกฎหมายของบางประเทศ เช่น สาธารณรัฐสิงคโปร์ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น จากการศึกษาพบว่ายังขาดหลักเกณฑ์เริ่มต้นของกฎหมายที่กำนดผู้ที่มีอำนาจขั้นตอนและวิธีการให้ความ ยินยอมในการบริจาคอวัยวะกับกฎหมายการให้ความยินยอมในการบริจาคอวัยวะและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความผิด และการยกเว้นความผิดทางกฎหมายของบุคลากรทางการแพทย์จากการปลูกถ่ายอวัยวะ ซึ่งหลักกฎหมายบางหลัก เช่น หลักเรื่องความยินยอม หลักความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน หลักเสรีนิยม ก็สามารถที่จะนำมา ปรับใช้ได้ ดังนั้นแล้วการที่ไม่มีกฎหมายเฉพาะเรื่องผู้เขียนจึงได้เสนอให้มีการบัญญัติกฎหมายเฉพาะ เป็นร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะมนุษย์หลังการตายเพื่อประโยชน์ในการรักษาพยาบาล
Abstract This Thesis aims to study the problems of laws on consent given by the persons who donate the organs after death and relevant persons and legal measures on controlling organ transplantation in Thailand in comparison with the organ transplantation guidelines of World Health Organization (WHO), and legal measures of certain countries; for instance, Republic of Singapore, United Kingdom, and the United States of America. According to the study, there are lack of initial criteria of laws on determining the authorized persons, procedures, and methods of giving consent in donating organs and laws on legal offense exemption of medical personnel from organ transplantation, despite the fact that certain principles of law; for example, principle of consent, principle of public order and good morals, or principle of liberalization can be applied thereto. Therefore, due to no specific law, the researcher proposes providing specific laws as the bills on organ transplantation and human organ donation after death for the benefit of treatment. 

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561

หัวเรื่องมาตรฐาน:

การเปลี่ยนอวัยวะ
การปลูกถ่ายอวัยวะ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ

คำสำคัญ:

e-Thesis

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

145 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4483
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • 5811911022.pdf ( 2,519.81 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [187]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×