• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

มาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมกับการลงโทษทางอาญาในการกระทำความผิดศึกษากรณีความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา

by ณัชชา กำแก้ว

Title:

มาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมกับการลงโทษทางอาญาในการกระทำความผิดศึกษากรณีความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา

Other title(s):

Legal measures appropriate to the criminal penalties for the offense. study on life and body offenses according to the criminal code

Author(s):

ณัชชา กำแก้ว

Advisor:

วราภรณ์ วนาพิทักษ์

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

National Institute of Development Administration

Issued date:

2018

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)เพื่อศึกษาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์อายุและบทลงโทษของเด็กและเยาวชนในการกระทำความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย (2)เพื่อศึกษาความหมายและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับการกระทำความผิดอาญาของเด็กและเยาวชน (3)เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษเด็กและเยาวชน ในการกระทำผิดอาญาเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ตามกฎหมายต่างประเทศและของไทย(4) เพื่อศึกษาวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมในการลงโทษเด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดอาญา ในต่างประเทศเทศเปรียบเทียบกับประเทศไทย(5)เพื่อเสนอแนะแนวทางและมาตรในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อลดการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน จากสังคมปัจจุบันผู้วิจัยเห็นว่าเด็กและเยาวชนกระทำความผิดมากขึ้นและรุนแรงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้ใหญ่ โดยไม่เกรงกลัวต่อกฎหมาย เนื่องจากประมวลกฎหมายอาญา และ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 จะเน้นเรื่องเกณฑ์อายุเป็นหลักในการพิจารณาลงโทษ และมุ่งเน้นในเรื่องของการแก้ไข ฟื้นฟู ให้โอกาสเด็กและเยาวชนกลับตัวกลับใจสู่สังคม โดยไม่ได้คำนึงถึงพฤติกรรมและความร้ายแรงของเด็กและเยาวชน ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน ยังไม่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันในเรื่องของการกระทำความผิดที่มีพฤติกรรมร้ายแรง ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ให้ทันกับสภาพสังคมปัจจุบัน และควรแก้บทลงโทษเพื่อให้กฎหมายมีประสิทธิภาพ และเกรงกลัวต่อการที่จะกระทำความผิดสำหรับเด็กและเยาวชน
This research aims to study the issue and the legal measures and penalties in the age of the juvenile's getting serious crimes. From today's society found that juvenile offenders and more serious as compared to adults. Without fear of the law The Criminal Procedure Act and Juvenile and Family Court and Juvenile and Family Act 2553 is focused primarily on the basis of age is considered a punishment. And focus on the opportunity to rehabilitate juvenile exhorted society. Without taking into account the seriousness of the behavior and juvenile delinquency. The researcher believes that the enforcement of laws on juvenile delinquency. No reasonable and consistent with the current state of society in terms of crime with serious behavior. The researchers therefore suggest that an amendment of the law. To keep pace with today's society And should the penalty to make the law effective. And the fear of crime to children and youth.

Description:

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561

Keyword(s):

e-Thesis
มาตรการทางกฎหมาย
โทษทางอาญา
การกระทำความผิด
เด็กและเยาวชน

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

96 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4487
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b204611.pdf ( 2,463.03 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [208]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×