ปัญหาการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย
Files
Publisher
Issued Date
2018
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
114 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b204613
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
พิมพ์พร เห็นสว่าง (2018). ปัญหาการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4489.
Title
ปัญหาการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Rehabitation of SMEs' debtor in Thailand
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและความเป็นมาของกฎหมายการฟื้นฟูกิจการของลูกหนีที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย เพื่อศึกษาถึงปัญหาและวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาในการฟื้นฟูกิจการของลูกหนีที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย เพื่อให้ทราบถึงกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องการฟื้นฟูกิจการของลูกหนีที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยกับต่างประเทศ และเพื่อให้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องการฟื้นฟูกิจการของลูกหนีที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย
จากการศึกษาพบว่ากฎหมายการฟื้นฟูกิจการของลูกหนีที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยมีปัญหาในการกำหนดรายการในแผนฟื้นฟูกิจการที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากมีจำนวนรายการในแผนเป็นจำนวนมาก ซึ่งลูกหนีต้องใช้เวลาในการทำแผนให้สำเร็จเป็นเวลานาน มีปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการในการรับยื่นแผนฟื้นฟูกิจการที่มีกระบวนการหลายขั้นตอนและในแต่ละขั้นตอนต้องใช้เวลาในการดำเนินกระบวนการเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้การดำเนินการตามกระบวนการฟื้นฟูกิจการต้องใช้เวลามากกว่าที่กระบวนการฟื้นฟูกิจการจะสำเร็จ และยังมีปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายอีกด้วย เนื่องจากกฎหมายการฟื้นฟูกิจการของลูกหนีที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยฉบับนี มีการบัญญัติขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะช่วยเหลือลูกหนี้ที่เป็นกิจการขนาดกลางและขนาดย่อมแต่นำบทบัญญัติของกฎหมายฟื้นฟูกิจการแบบทั่วไปสำหรับกิจการขนาดใหญ่มาเป็นต้นแบบ ซึ่งไม่เหมาะสมกับกิจการขนาดกลางและขนาดย่อมโดยการจะดำเนินการเพื่อให้ศาลมีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการต้องใช้เวลานาน
จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นพบว่าปัญหาต่างๆส่งผลให้ลูกหนี้อาจไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการได้ หรือลูกหนี้อาจสามารถเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการได้แต่ต้องใช้เวลาในกระบวนการฟื้นฟูกิจการนานกว่าที่ศาลจะมีค้าสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ ซึ่งส่งผลให้ลูกหนี้ไม่อาจแก้ไขปัญหาทางการเงินในกิจการของตนได้ทันท่วงทีและอาจต้องล้มละลาย ผู้วิจัยจึงเห็นสมควรว่าไม่ควรมีกฎหมายการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย แต่ควรมีกฎหมายการฟื้นฟูกิจการแบบเร่งรัดเพื่อให้ลูกหนี้สามารถแก้ไขปัญหาทางการเงินได้ทันท่วงทีตามเจตนารมณ์ของกฎหมายการฟื้นฟูกิจการ
This thesis is aimed to study the theory and history of the rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand in order to analyze and solve financial problems for SMEs’ debtors so that they can continue their business Without being adjudicated or bankruptcy From the study, it was shown that the rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand have problems in setting up improper items in rehabilitation plan due to the over number of items in the plan. As a result, debtors need longer period of time to complete the plan which directly affect the rehabilitation laws’ process including the law enforcement process as well. Moreover, the current rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand use the General Rehabilitation Law of large enterprise as a prototype which is very unpractical and unsuitable for the SMEs’ debtors both in term of process and law enforcement. From the problems mentioned above, it is obviously shown that SMEs’ debtors are either set to fail in the rehabilitation law process or face problems during process which made them take longer period than usual to complete the process. Either of reasons mentioned earlier, the result is the SMEs’ debtors cannot solve the financial problems in time therefore, they might face being adjudicated or bankruptcy. To solve this re-occurring problem, the researcher believes that the rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand should be suspended and replaced by the intensive rehabilitation laws instead in order to solve the problem promptly.
This thesis is aimed to study the theory and history of the rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand in order to analyze and solve financial problems for SMEs’ debtors so that they can continue their business Without being adjudicated or bankruptcy From the study, it was shown that the rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand have problems in setting up improper items in rehabilitation plan due to the over number of items in the plan. As a result, debtors need longer period of time to complete the plan which directly affect the rehabilitation laws’ process including the law enforcement process as well. Moreover, the current rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand use the General Rehabilitation Law of large enterprise as a prototype which is very unpractical and unsuitable for the SMEs’ debtors both in term of process and law enforcement. From the problems mentioned above, it is obviously shown that SMEs’ debtors are either set to fail in the rehabilitation law process or face problems during process which made them take longer period than usual to complete the process. Either of reasons mentioned earlier, the result is the SMEs’ debtors cannot solve the financial problems in time therefore, they might face being adjudicated or bankruptcy. To solve this re-occurring problem, the researcher believes that the rehabilitation laws of SMEs’ debtors in Thailand should be suspended and replaced by the intensive rehabilitation laws instead in order to solve the problem promptly.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561