ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
198
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b191041
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธัญพิชชา สามารถ (2015). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4640.
Title
ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก
Alternative Title(s)
Organizational commitment of officers in eastern region city municipalities
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก และ 3) เพื่อพัฒนาตัวแบบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพโดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารโดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และใช้แบบสอบถามถามคาถามจาก บุคลากรในเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครแหลมฉบัง และเทศบาลนครระยอง จานวน 335 คน คิดเป็นร้อยละ 85.89 ของแบบสอบถามที่เก็บจริง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน คุณภาพชีวิตในการทางาน ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นด้วยโปรแกรม SPSS วิเคราะห์ความสอดคล้องของตัวแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยใช้โปรแกรม LISREL
ผลการศึกษาพบว่า 1) บุคลากรในเทศบาลนครในภาคตะวันออก มีความผูกพันต่อองค์การด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายขององค์การ และความผูกพันต่อองค์การด้านความทุ่มเทเพื่อความสาเร็จขององค์การ อยู่ในระดับมาก ความผูกพันต่อองค์การด้านความตั้งใจที่จะคงความเป็นสมาชิกขององค์การ อยู่ในระดับน้อย
2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ เรียงตามลาดับ คือ วัฒนธรรมองค์การ (TE=.54) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน (TE=.31) คุณภาพชีวิตในการทางาน (TE=.22) และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (TE=.21) โดยปัจจัยทั้งหมดมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การที่ระดับ
3) ตัวแบบที่พัฒนาขึ้น (Proposed Model) มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี (2/df เท่ากับ 1.31 ค่า CFI เท่ากับ .99 ค่า RFI เท่ากับ .98 ค่า SRMR เท่ากับ .03 ค่า RMSEA เท่ากับ .03 ค่า GFI เท่ากับ .97 และค่า AGFI เท่ากับ .95) ตัวแปรในตัวแบบสามารถอธิบายความแปรปรวนของความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครได้ร้อยละ 70
ข้อเสนอแนะ 1) เทศบาลนครควรเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์การให้เอื้อต่อการปฏิบัติงาน โดยหัวหน้างานควรให้ความสนใจต่อการทางานของลูกน้อง ให้ความเสมอภาคกับลูกน้องอย่างเท่าเทียมกัน การให้การสนับสนุนในการทางาน มีความยืดหยุ่น ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการทางานร่วมกันเป็นทีม เพื่อให้บุคลากรมีความสามัคคี ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือการทางานร่วมกัน และเห็นถึงความสาคัญของส่วนรวม ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ
2) เทศบาลควรส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน โดยใช้แนวทางในการเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยการทาความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายของหน่วยงาน การปฏิบัติของหัวหน้างาน รวมทั้งการเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ใช้ความสามารถในการทางาน เปิดโอกาสในการทางานเพื่อคนอื่น และมีอิสระในการใช้ดุลยพินิจในการทางาน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน อันจะนาไปสู่การเพิ่มระดับความผูกพันของบุคลากร
3) เทศบาลควรหาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทางานให้กับบุคลากร ในเรื่องของการส่งเสริมความก้าวหน้าในการทางาน ค่าตอบแทนที่เหมาะสม ความปลอดภัยในการทางาน และให้บุคลากรมีเวลาในการทางานและการใช้ชีวิตส่วนตัวที่สมดุลกัน ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตในการทางานให้ดีขึ้น และจะส่งผลให้ความผูกพันต่อองค์การเพิ่มขึ้น
4) เทศบาลนครควรหาแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยให้บุคลากรได้รับผิดชอบงานที่ตนเองถนัด ประกอบกับให้อิสระในการปฏิบัติงาน จะทาให้บุคลากรรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและมีความสาคัญต่อเทศบาล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น และนาไปสู่ความผูกพันต่อองค์กรสูงขึ้น
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพโดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารโดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และใช้แบบสอบถามถามคาถามจาก บุคลากรในเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครแหลมฉบัง และเทศบาลนครระยอง จานวน 335 คน คิดเป็นร้อยละ 85.89 ของแบบสอบถามที่เก็บจริง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การ แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน คุณภาพชีวิตในการทางาน ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นด้วยโปรแกรม SPSS วิเคราะห์ความสอดคล้องของตัวแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยใช้โปรแกรม LISREL
ผลการศึกษาพบว่า 1) บุคลากรในเทศบาลนครในภาคตะวันออก มีความผูกพันต่อองค์การด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายขององค์การ และความผูกพันต่อองค์การด้านความทุ่มเทเพื่อความสาเร็จขององค์การ อยู่ในระดับมาก ความผูกพันต่อองค์การด้านความตั้งใจที่จะคงความเป็นสมาชิกขององค์การ อยู่ในระดับน้อย
2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ เรียงตามลาดับ คือ วัฒนธรรมองค์การ (TE=.54) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน (TE=.31) คุณภาพชีวิตในการทางาน (TE=.22) และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (TE=.21) โดยปัจจัยทั้งหมดมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การที่ระดับ
3) ตัวแบบที่พัฒนาขึ้น (Proposed Model) มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี (2/df เท่ากับ 1.31 ค่า CFI เท่ากับ .99 ค่า RFI เท่ากับ .98 ค่า SRMR เท่ากับ .03 ค่า RMSEA เท่ากับ .03 ค่า GFI เท่ากับ .97 และค่า AGFI เท่ากับ .95) ตัวแปรในตัวแบบสามารถอธิบายความแปรปรวนของความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครได้ร้อยละ 70
ข้อเสนอแนะ 1) เทศบาลนครควรเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์การให้เอื้อต่อการปฏิบัติงาน โดยหัวหน้างานควรให้ความสนใจต่อการทางานของลูกน้อง ให้ความเสมอภาคกับลูกน้องอย่างเท่าเทียมกัน การให้การสนับสนุนในการทางาน มีความยืดหยุ่น ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการทางานร่วมกันเป็นทีม เพื่อให้บุคลากรมีความสามัคคี ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือการทางานร่วมกัน และเห็นถึงความสาคัญของส่วนรวม ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ
2) เทศบาลควรส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน โดยใช้แนวทางในการเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยการทาความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายของหน่วยงาน การปฏิบัติของหัวหน้างาน รวมทั้งการเปิดโอกาสให้บุคลากรได้ใช้ความสามารถในการทางาน เปิดโอกาสในการทางานเพื่อคนอื่น และมีอิสระในการใช้ดุลยพินิจในการทางาน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน อันจะนาไปสู่การเพิ่มระดับความผูกพันของบุคลากร
3) เทศบาลควรหาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทางานให้กับบุคลากร ในเรื่องของการส่งเสริมความก้าวหน้าในการทางาน ค่าตอบแทนที่เหมาะสม ความปลอดภัยในการทางาน และให้บุคลากรมีเวลาในการทางานและการใช้ชีวิตส่วนตัวที่สมดุลกัน ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตในการทางานให้ดีขึ้น และจะส่งผลให้ความผูกพันต่อองค์การเพิ่มขึ้น
4) เทศบาลนครควรหาแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยให้บุคลากรได้รับผิดชอบงานที่ตนเองถนัด ประกอบกับให้อิสระในการปฏิบัติงาน จะทาให้บุคลากรรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและมีความสาคัญต่อเทศบาล ซึ่งจะส่งผลให้เกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น และนาไปสู่ความผูกพันต่อองค์กรสูงขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558