ประสิทธิผลของมาตรการกำกับการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
101
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b191060
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ศิรภพ ปภัทธนนันท์ (2015). ประสิทธิผลของมาตรการกำกับการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4663.
Title
ประสิทธิผลของมาตรการกำกับการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Alternative Title(s)
The effectiveness of market supervision rules in the Stock Exchange of Thailand
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของมาตรการกำกับการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยแบ่งเป็น มาตรการแคชบาลานซ์ ซึ่งใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 จนถึง 2557 และมาตรการเทรดดิ้ง อะเลิร์ท ซึ่งเริ่มใช้เมื่อต้น พ.ศ. 2558 การศึกษาได้วิเคราะห์ประเภทของหลักทรัพย์ โดยพิจารณาขนาดกลุ่มอุตสาหกรรม และระยะเวลาในการตดิ มาตรการซ้ำ และทำการวิเคราะห์ความมีประสิทธิผลของมาตรการ โดยมุ่งเน้นไปทคี่ วามสามารถในการควบคุมความผันผวนของราคาหลักทรัพย์รวมถึงอัตราการซื้อขายหมุนเวียน นอกจากนี้ ยังพิจารณาต่อเนื่องไปว่า เมื่อหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติของตลาดและเข้าข่ายมาตรการดงั กล่าว หลงั จากที่ออกจากมาตรการแล้วพฤติกรรมการซื้อขายของหลักทรัพย์นั้นๆเป็นปกติหรือ ไม่ นอกจากนี้ การวการวิเคราะห์ได้คำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดกับหลักทรัพย์อันเป็นผลจากมาตรการดังกล่าว
การศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาแบบวิเคราะห์เหตุการณ์ (Event Study) โดยการแบ่งช่วงเวลาการศึกษาออกเป็นช่วงต่างๆ ทั้ง ก่อน ระหว่าง และหลังจากหลักทรัพย์ออกจากมาตรการ และเปรียบเทียบประสิทธิผลของมาตรการในแต่ละช่วง โดยใช้มาตรวัด 4 มาตรวัด ในการวเคราะห์มาตรการกำกับการซื้อขาย อันได้แก่ ความผันผวนของราคา (Volatility) อัตราการซื้อ ขายหมุนเวียน (Turnover Ratio) อัตราผลตอบแทนที่เกินปกติ (Abnormal Return) และสภาพคล่อง (Liquidity) ของหลักทรัพย์นั้นๆพร้อมกับทำการทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า มาตรการแคชบาลานซ์แบบนโยบายเดิม 3 สัปดาห์สามารถควบคุมความผันผวนด้านราคาและอัตราการซื้อขายหมุนเวียนของหลักทรัพย์ที่ติดมาตรการไม่เกนิ 3 ครั้ง ได้ แต่เมื่อพิจารณาระดับความมีนัยสำคัญทางสถิตินั้น พบว่ามิได้บ่งชี้ถึงประสิทธิผลของมาตรการในทุกกรณี จึงส่งผลให้มีหลกั ทรพั ย์เดิมกลบั มาติดมาตรการอีกหลายครั้ง ซึ่งหลังจากการเปลยี่ นมาตรการแคชบาลานซเ์ป็นแบบนโยบายใหม่ 6 สัปดาห์ที่เริม่ใช้ใน พ.ศ. 2556 นั้น การศึกษาพบว่า สามารถควบคุมความผนั ผวนดา้ นราคาและอตั ราการซอื้ขายหมุนเวียนได้ดีขึ้น แต่ในอีกด้านหนึ่งก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบแก่สภาพคล่องและอัตราผลตอบแทนที่เกินปกตอของหลักทรัพย์ โดยผลกระทบนั้น รุนแรงขึ้น ตามระยะเวลาที่หลักทรัพย์ติดมาตรการ
ในส่วนของมาตรการเทรดดิ้งอะเลิร์ทที่เพิ่งมีใช้ใน พ.ศ. 2558 ซึ่งปัจจุบันยังถือเป็นช่วงเริ่มต้นของมาตรการ การศึกษานี้ได้ทำการวิเคราะห์หลักทรัพย์ทั้ง ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ซึ่ง ในตลาดหลักทรัพย์์ เอ็ม เอ ไอ อันประกอบด้วยบริษัทขนาดกลางและขนาดเล็กนั้นมีสัดส่วนของหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติของตลาด สูงกว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่เป็นหลักทรัพย์ของบริษัทขนาดใหญ่กว่า ทั้งนี้ สำหรับมาตรการเทรดดิ้งอะเลิร์ทนั้นมีกฎเกณฑ์ที่มากขึ้นโดยมีการแบ่งระดับขั้นความรุนแรงของมาตรการ ที่จะเพิ่มมากขึ้นตามความผิดปกติของหลักทรัพย์ โดยมิได้ใช้มาตรการระดับ เดียวกันในการกำกับหลักทรัพย์ที่เข้าข่ายทุกตัว ซึ่งจากการวิเคราะห์ประสิทธิผลของมาตรการเทรดดิ้ง อะเลิร์ท พบว่า มาตรการนี้สามารถควบคุมความผันผวนด้านราคาและอัตราการซื้อขายหมุนเวียนได้ดี เช่นเดียวกับมาตรการแคชบาลานซ ์ และมีผลกระทบต่อสภาพคล่องและอัตราผลตอบแทนที่เกินปกติน้อยกว่ามาตรการแคชบาลานซ์
การศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาแบบวิเคราะห์เหตุการณ์ (Event Study) โดยการแบ่งช่วงเวลาการศึกษาออกเป็นช่วงต่างๆ ทั้ง ก่อน ระหว่าง และหลังจากหลักทรัพย์ออกจากมาตรการ และเปรียบเทียบประสิทธิผลของมาตรการในแต่ละช่วง โดยใช้มาตรวัด 4 มาตรวัด ในการวเคราะห์มาตรการกำกับการซื้อขาย อันได้แก่ ความผันผวนของราคา (Volatility) อัตราการซื้อ ขายหมุนเวียน (Turnover Ratio) อัตราผลตอบแทนที่เกินปกติ (Abnormal Return) และสภาพคล่อง (Liquidity) ของหลักทรัพย์นั้นๆพร้อมกับทำการทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า มาตรการแคชบาลานซ์แบบนโยบายเดิม 3 สัปดาห์สามารถควบคุมความผันผวนด้านราคาและอัตราการซื้อขายหมุนเวียนของหลักทรัพย์ที่ติดมาตรการไม่เกนิ 3 ครั้ง ได้ แต่เมื่อพิจารณาระดับความมีนัยสำคัญทางสถิตินั้น พบว่ามิได้บ่งชี้ถึงประสิทธิผลของมาตรการในทุกกรณี จึงส่งผลให้มีหลกั ทรพั ย์เดิมกลบั มาติดมาตรการอีกหลายครั้ง ซึ่งหลังจากการเปลยี่ นมาตรการแคชบาลานซเ์ป็นแบบนโยบายใหม่ 6 สัปดาห์ที่เริม่ใช้ใน พ.ศ. 2556 นั้น การศึกษาพบว่า สามารถควบคุมความผนั ผวนดา้ นราคาและอตั ราการซอื้ขายหมุนเวียนได้ดีขึ้น แต่ในอีกด้านหนึ่งก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบแก่สภาพคล่องและอัตราผลตอบแทนที่เกินปกตอของหลักทรัพย์ โดยผลกระทบนั้น รุนแรงขึ้น ตามระยะเวลาที่หลักทรัพย์ติดมาตรการ
ในส่วนของมาตรการเทรดดิ้งอะเลิร์ทที่เพิ่งมีใช้ใน พ.ศ. 2558 ซึ่งปัจจุบันยังถือเป็นช่วงเริ่มต้นของมาตรการ การศึกษานี้ได้ทำการวิเคราะห์หลักทรัพย์ทั้ง ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ซึ่ง ในตลาดหลักทรัพย์์ เอ็ม เอ ไอ อันประกอบด้วยบริษัทขนาดกลางและขนาดเล็กนั้นมีสัดส่วนของหลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติของตลาด สูงกว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่เป็นหลักทรัพย์ของบริษัทขนาดใหญ่กว่า ทั้งนี้ สำหรับมาตรการเทรดดิ้งอะเลิร์ทนั้นมีกฎเกณฑ์ที่มากขึ้นโดยมีการแบ่งระดับขั้นความรุนแรงของมาตรการ ที่จะเพิ่มมากขึ้นตามความผิดปกติของหลักทรัพย์ โดยมิได้ใช้มาตรการระดับ เดียวกันในการกำกับหลักทรัพย์ที่เข้าข่ายทุกตัว ซึ่งจากการวิเคราะห์ประสิทธิผลของมาตรการเทรดดิ้ง อะเลิร์ท พบว่า มาตรการนี้สามารถควบคุมความผันผวนด้านราคาและอัตราการซื้อขายหมุนเวียนได้ดี เช่นเดียวกับมาตรการแคชบาลานซ ์ และมีผลกระทบต่อสภาพคล่องและอัตราผลตอบแทนที่เกินปกติน้อยกว่ามาตรการแคชบาลานซ์
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การเงิน))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558