Browsing GSPA: Dissertations by Title
Now showing items 351-370 of 380
-
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมจริยธรรมของนักเรียนพลตำรวจ ในโรงเรียนตำรวจนครบาล
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1997); -
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจครอบครัวในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008); -
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการความร่วมมือทางการศึกษาระหว่างสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ และวิทยาลัยเกษตรกรรมแพร่
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996); -
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเปิดที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกล : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1998); -
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานโรงพยาบาลชุมชนในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996); -
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของนโยบายบรรษัทภิบาล : กรณีบริษัทจดทะเบียน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009); -
ปัจจัยที่มีผลต่อรายจ่ายสาธารณะด้านสังคมและผลต่อการกระจายรายได้ของไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยที่มีผลต่อวุฒิภาวะของผู้บริหารระดับกลาง : การศึกษาเปรียบเทียบผู้บริหารองค์การภาครัฐและเอกชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1996); -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างประสิทธิผลของการนำนโยบายการให้บริการแก่ประชาชนไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสำนักงานเขตของกรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993);
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการสร้างประสิทธิผล การเปรียบเทียบอิทธิพลของปัจจัยต่าง ๆ ระดับประสิทธิผลของการนำนโยบายการให้บริการแก่ประชาชนไปปฏิบัติเมื่อเปรียบเทียบระหว่างงานต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อนำไปสู่การเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแนวทางและกลยุทธ์ต่อการสร้างประสิทธิผลของการนำนโยบายการให้บริการแก่ประชาชนไปปฏิบัติให้เกิดขึ้นในอนาคต การวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัยแบบไม่ทดลอง ประชากร คือ ประชาชนที่เป็นผู้รับบริการของสำนักงานเขต และเจ้าหน้าที่ที่เป็นผู้ให้บริการของสำนักงานเขตในกรุงเทพมหานครทั้ง 36 สำนักงานเขต การสุ่มตัวอย่างใ ... -
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายวางแผนครอบครัวไปฏิบัติ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1998);
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายวางแผนครอบครัวไปปฏิบัติ ค้นหาชุดของปัจจัยที่สามารถอธิบายความสำเร็จของการนำนโยบายวางแผนครอบครัวไปปฏิบัติได้ และหาแนวทางในการเพิ่มระดับความสำเร็จของการนำนโยบายวางแผนครอบครัวไปปฏิบัติในทุกท้องที่และทุกภาคของประเทศ / การวิจัยครั้งนี้ได้จากความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยที่ปฏิบัติงานด้านวางแผนครอบครัว จำนวน 678 คน จาก 678 สถานีอนามัย ซึ่งได้มาด้วยการสุ่มตัวอย่างจาก 4 ภาค คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบ ... -
ปัจจัยภาวะผู้ประกอบการที่มีต่อผลประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ผลกระทบจากมุมมองด้านทรัพยากรและองค์การแห่งการเรียนรู้ต่อความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมขององค์การที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2009); -
ผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจากมุมมองแนวคิดองค์การแห่งการเรียนรู้และนวัตกรรมองค์การ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
พลวัตรในกระบวนการตัดสินใจนโยบายของรัฐต่อรัฐวิสาหกิจ กรณีศึกษา : บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด (บทด.) กับการตัดสินใจร่วมทุนกับกลุ่มบริษัท เจ้าของเรือไทยเพื่อจัดตั้งสายการเดินเรือแห่งชาติ กรณีศึกษา : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) กับการตัดสินใจสร้างท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010); -
ภาคีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนกับประสิทธิผลของนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานหมุนเวียน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน : การศึกษาสำรวจปัจจัยและผลกระทบของนโยบายสาธารณสุขมูลฐานในเขต 1 ของสาธารณสุข
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993);
การศึกษาวิจัยเรื่อง ภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน: การศึกษาสำรวจปัจจัยและผลกระทบของนโยบายสาธารณสุขมูลฐานในเขต 1 ของสาธารณสุข มุ่งที่จะตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรสาเหตุ ได้แก่ กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน การปรับระบบบริการให้รองรับงานสาธารณสุขมูลฐาน การมีส่วนร่วมของประชาชน และความรู้ในการป้องกันโรค ที่มีต่อตัวแปรผล คือ ภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยใช้กรอบแนวทางการศึกษาทฤษฎีของการสาธารณสุขมูลฐานและแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน -
ระบบราชการไทยกับทัศนคติและพฤติกรรมของข้าราชการด้านการพัฒนาชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีของข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1992);
การวิจัยในกรณีนี้ เป็นความพยายามที่จะพิสูจน์ให้เห็นว่าองค์การระบบราชการ จะมีส่วนสัมพันธ์เชิงเหตุเชิงผลอย่างไรบ้างกับความสำเร็จหรือล้มเหลวของการพัฒนาชนบทไทย กรอบแนวความคิดสำหรับการวิจัยในที่นี้คือ ความสำเร็จหรือล้มเหลวของการนำนโยบายการพัฒนาชนบทไปสู่การปฏิบัตินั้น ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของข้าราชการในการบริหารการพัฒนาชนบท ทั้งนี้การศึกษาถึงศักยภาพขององค์การระบบราชการ รวมทั้งทิศทางและแนวโน้มพฤติกรรมของข้าราชการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จะขึ้นอยู่กับทัศนคติของข้าราชการที่มีต่อการบริหารการพัฒนาชนบทด้วย.