Show simple item record

dc.contributor.advisorพาชิตชนัต ศิริพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorญาดาภา โชติดิลกth
dc.date.accessioned2014-05-05T08:55:10Z
dc.date.available2014-05-05T08:55:10Z
dc.date.issued2012th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/470th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012th
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถของวิธีการแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากัน ด้วยวิธีการแปลงข้อมูลแบบบ็อกซ์ – ค็อกซ์และวิธีการถ่วงน้ำหนัก โดยจำลองข้อมูลในแผนแบบ การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์กำหนดปัจจัยการทดลองคงตัวและจ นวนซ้ำในแต่ละวิธีทดลองเท่ากัน โดยกำหนดจำนวนทรีตเมนต์ (k) และจำนวนซ้ำของหน่วยทดลองในแต่ละทรีตเมนต์ (n) เป็นดังนี้ (k, n) = (3, 5), (3, 10), (5, 10), (5, 12), (5, 20) กำหนดค่าความแปรปรวนแตกต่างกัน 3 ระดับ คือ ความแปรปรวนแตกต่างกันน้อย (ไม่เกิน 2 เท่าของค่าความแปรปรวนน้อยที่สุด) แตกต่างกันปาน กลาง (ไม่เกิน 5 เท่าของค่าความแปรปรวนน้อยที่สุด)และแตกต่างกันมาก (ไม่เกิน 10 เท่าของค่า ความแปรปรวนน้อยที่สุด) กำหนดการแจกแจงของตัวแปรตอบสนองเป็นการแจกแจงปกติและการแจกแจงล็อกนอร์มอล กระทำซ้ำในแต่ละสถานการณ์เป็นจำนวน 1,000 รอบ เกณฑ์ในการ เปรียบเทียบความสามารถของวิธีการแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากัน พิจารณาจากสัดส่วน ความสำเร็จจากการทดสอบความเท่ากันของความแปรปรวนด้วยสถิติทดสอบเลอวีน นอกจากนี้ยัง ทำการทดสอบการแจกแจงปกติของตัวแปรตอบสนองทั้งก่อนและหลังการแปลงข้อมูลด้วยสถิติ ทดสอบชาพิโร-วิลค์ ผลการศึกษาพบว่า วิธีการแปลงข้อมูลแบบบ็อกซ์-ค็อกซ์ทั้งแบบดั้งเดิมและ แบบที่ปรับปรุงแล้วสามารถแก้ปัญหาการแจกแจงที่มีลักษณะอื่นให้มีการแจกแจงปกติได้ แต่ไม่ สามารถแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากันได้วิธีการแปลงข้อมูลโดยใช้วิธีการถ่วงน้ำหนัก สามารถแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากันได้ แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาการแจกแจงที่มีลักษณะอื่น ให้มีการแจกแจงปกติได้ดังนั้น วิธีที่เหมาะสม คือวิธีการแปลงข้อมูลแบบบ็อกซ์-ค็อกซ์แบบดั้งเดิม ร่วมกับวิธีการถ่วงน้ำหนัก ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากันและช่วยให้ ข้อมูลมีการแจกแจงปกติth
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2014-05-05T08:55:10Z (GMT). No. of bitstreams: 1 nida-ths-b176367.pdf: 3688188 bytes, checksum: 63bbb8c6d1d76f80880050eccc5aa4b6 (MD5) Previous issue date: 2012th
dc.format.extent64 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccQA 279 ญ24 2012th
dc.subject.otherการวิเคราะห์ความแปรปรวนth
dc.titleการแปลงข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาความแปรปรวนไม่เท่ากันสำหรับแผนแบบการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์th
dc.title.alternativeThe data transformation on CRD with unequal varianceth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติ)th
thesis.degree.levelปริญญาโทth
thesis.degree.disciplineสถิติth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะสถิติประยุกต์th
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2012.42


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record