• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ตัวประมาณแบบใช้อัตราส่วนในการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ

by สิริกานต์ คมวิลาศ

Title:

ตัวประมาณแบบใช้อัตราส่วนในการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ

Other title(s):

Ratio estimators in stratified sampling

Author(s):

สิริกานต์ คมวิลาศ

Advisor:

ประชุม สุวัตถี, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติ)

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

สถิติ

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2012

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2012.12

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยนี้ศึกษาตัวประมาณค่าเฉลี่ยประชากรที่ไม่เอนเอียงและแบบใช้อัตราส่วน 2 แบบ คือ ตัวประมาณแบบอัตราส่วนแยกกันและตัวประมาณแบบอัตราส่วนร่วมกันในการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งเป็นชั้น การศึกษาใช้การเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนของค่าประมาณทั้ง 3 แบบ โดยการจำลอง 9 ประชากร แต่ละประชากรประกอบไปด้วยค่าของตัวแปรที่สนใจศึกษาและตัวแปรช่วย 6,000 คู่ให้มีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ 0.1, 0.2, 0.3, …, 0.9 แบ่งประชากรแต่ละประชากรออกเป็น 3, 4, 5, ..., 9 ชั้นภูมิ โดยใช้ความถี่ของตัวแปรช่วย แล้วสุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ประมาณค่าเฉลี่ยประชากรและความแปรปรวนของค่าประมาณทั้ง 3 แบบ จำนวน 2,500 รอบ พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์การแปรผันของค่าประมาณลดลงเมื่อขนาดตัวอย่างหรือสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ที่ศึกษาและตัวแปรช่วยเพิ่มขึ้น และการประมาณแบบอัตราส่วนรวมกัน มีความแม่นยำสูงกว่าการประมาณแบบอัตราส่วนแยกกันเสมอแต่การประมาณแบบอัตราส่วน รวมกันมีความแม่นยำสูงกว่า การประมาณไม่เอนเอียง เมื่อสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ ศึกษาและตัวแปรช่วยเพิ่มขึ้น อัตราการลดลงของสัมประสิทธิ์การแปรผันของตัวประมาณจะลดลง เมื่อเพิ่มจำนวนชั้นภูมิ และอัตราการลดลงจะน้อยมากภายหลังที่มีการแบ่งประชากรมากกว่า 6 ชั้นภูมิ

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012

Subject(s):

การสุ่มตัวอย่าง (สถิติ)

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

11, 194 แผ่น ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/472
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b175692.pdf ( 1.65 MB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [219]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×