มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
212 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b190063
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
โสภาพร ศรนุวัตร (2015). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4728.
Title
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Alternative Title(s)
Legal measures of using and protection of water resources of the local administration
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้ำ
โดยทำการศึกษาร่างพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ... ที่จะจัดทำเป็นกฎหมายแม่บทให้มีความสมบูรณ์ ศึกษาเรื่องการจัดเก็บค่าน้ำ สำหรับเป็นแนวทางในการกำหนดเป็นกฎหมายต่อไป ตลอดจนศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อจะได้เป็นแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน
จากการศึกษา วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการร่วมแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง เนื่องจากถือว่าเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้าเป็นต้องมีการพัฒนาและ “ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น” เช่นการจัดการ การดูแลและการอนุรักษ์และการควบคุมและการกำหนดความรับผิด โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กร กระจายอำนาจปกครอง โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูและของราชการส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค และองค์กรกำกับดูแล ในเรื่องของกฎหมาย หากได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับน้ำที่มีอยู่ในปัจจุบันให้มีความทันสมัย มีบทลงโทษที่เหมาะสมกับความผิดที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดโดยหน่วยงานผู้รักษากฎหมายนั้น นอกจากนี้ กฎหมายที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำยังมีความซ้ำซ้อน ไม่ครอบคลุมและขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง จึงท้าให้ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้กับหน่วยงานต่าง ๆ
ส่วนพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ... ที่จะใช้เป็นกฎหมายแม่บทของประเทศ ซึ่งปัจจุบัน ยังไม่มีนั้นเนื่องจากยังไม่ผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงมีความจ้าเป็นต้องเร่งรัดในการ จัดทำขึ้น โดยมีสาระสำคัญในบทบัญญัติให้ชัดเจน ในด้านกรรมสิทธิ์ในน้ำ สิทธิในการใช้น้ำของเอกชนการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ การบริหารจัดการเป็นระบบลุ่มน้ำโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ในด้านการจัดเก็บค่าน้ำ จากการศึกษาพบว่าในต่างประเทศได้มีการจัดเก็บค่าน้ำกับผู้ใช้น้ำใน ทุกกิจกรรม แต่ในประเทศไทยยังไม่มีการจัดเก็บค่าน้ำอย่างจริงจัง ดังนั้นเมื่อรัฐต้องลงทุนด้วย งบประมาณเป็นจำนวนมากจึงควรมีการเก็บค่าน้ำกับผู้ที่ใช้น้ำตามความเหมาะสมของสภาพเศรษฐกิจโดยใช้หลักที่ว่า “ผู้ใช้ต้องเป็นผู้จ่าย ” เพื่อจะได้น้ำไปบัญญัติไว้ในกฎหมายแม่บทที่จัดท้าขึ้นต่อไป
จากการศึกษา วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการร่วมแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง เนื่องจากถือว่าเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้าเป็นต้องมีการพัฒนาและ “ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น” เช่นการจัดการ การดูแลและการอนุรักษ์และการควบคุมและการกำหนดความรับผิด โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กร กระจายอำนาจปกครอง โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูและของราชการส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค และองค์กรกำกับดูแล ในเรื่องของกฎหมาย หากได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับน้ำที่มีอยู่ในปัจจุบันให้มีความทันสมัย มีบทลงโทษที่เหมาะสมกับความผิดที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดโดยหน่วยงานผู้รักษากฎหมายนั้น นอกจากนี้ กฎหมายที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำยังมีความซ้ำซ้อน ไม่ครอบคลุมและขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง จึงท้าให้ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้กับหน่วยงานต่าง ๆ
ส่วนพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ... ที่จะใช้เป็นกฎหมายแม่บทของประเทศ ซึ่งปัจจุบัน ยังไม่มีนั้นเนื่องจากยังไม่ผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงมีความจ้าเป็นต้องเร่งรัดในการ จัดทำขึ้น โดยมีสาระสำคัญในบทบัญญัติให้ชัดเจน ในด้านกรรมสิทธิ์ในน้ำ สิทธิในการใช้น้ำของเอกชนการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ การบริหารจัดการเป็นระบบลุ่มน้ำโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ในด้านการจัดเก็บค่าน้ำ จากการศึกษาพบว่าในต่างประเทศได้มีการจัดเก็บค่าน้ำกับผู้ใช้น้ำใน ทุกกิจกรรม แต่ในประเทศไทยยังไม่มีการจัดเก็บค่าน้ำอย่างจริงจัง ดังนั้นเมื่อรัฐต้องลงทุนด้วย งบประมาณเป็นจำนวนมากจึงควรมีการเก็บค่าน้ำกับผู้ที่ใช้น้ำตามความเหมาะสมของสภาพเศรษฐกิจโดยใช้หลักที่ว่า “ผู้ใช้ต้องเป็นผู้จ่าย ” เพื่อจะได้น้ำไปบัญญัติไว้ในกฎหมายแม่บทที่จัดท้าขึ้นต่อไป
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558