• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ สำหรับทดสอบความแตกต่างของตำแหน่งของประชากร 2 กลุ่ม กรณีความแปรปรวนของประชากรไม่เท่ากัน

by วราวัลย์ นิลพัทธ์

Title:

สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ สำหรับทดสอบความแตกต่างของตำแหน่งของประชากร 2 กลุ่ม กรณีความแปรปรวนของประชากรไม่เท่ากัน

Other title(s):

A nonparametric statistics for testing location of the two populations with unequal population variances

Author(s):

วราวัลย์ นิลพัทธ์

Advisor:

สำรวม จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

สถิติ

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2013

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจยนี้ผู้วิจิยได้เสนอสถิติทดสอบบูทสแตรปเฉิน-ลูโดยเปรียบเทียบความสามารถใน การควบคุมความน่าจะเป็นของความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 และค่าอานาจการทดสอบของสถิติ แบบไม่ใชพารามิเตอร์สาหรับทดสอบความแตกต่างของตำแหน่งของประชากร 2 กลุ่ม กรณีความแปรปรวนของประชากรไม่เท่ากัน กับสถิติทดสอบวิลคอกสัน-แมน-วิทนีย์วิธีคลิฟฟ์ สถิติ ทดสอบบรุนเนอร์-มุนเซล สถิติทดสอบเฉิน-ลูและสถิติทดสอบบูทสแตรปแรงค์เวลซ์ข้อมูลที่ใช้ ในการศึกษาคร้ังนี้ได้จากการสร้างแบบจำลอง เมื่อข้อมูลมาจากการแจกแจงเอกรูปต่อเนื่องและการ แจกแจงแกมมาขนาดตัวอย่างเท่ากับ (5,10), (10,10), (20,30), (30,30), (40,50), (60,60) และ (100,100) ระดบนัยสำคัญที่ใช้ทดสอบสมมุติฐาน 0.01 และ 0.05 ซึ่งกระทำซ้ำ 1,000 คร้ัง ในแต่ละ สถานการณ์กำหนดจำนวนครั้งในการบูทสแตรป 500 คร้ัง ผลการศึกษาพบว่า สถิติทดสอบบูทสแตรปเฉิน-ลูสามารถควบคุมความน่าจะเป็นของ ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1ได้ดีที่สุด และมีค่าอำนาจการทดสอบสูงใกล้เคียงกับสถิติทดสอบอื่น เมื่อตัวอย่างมีขนาดเท่ากับ (100,100) เมื่อตัวอย่างขนาดเล็ก (5,10), (10,10) สถิติทดสอบบรุนเนอร์-มุนเซล สามารถควบคุมความ น่าจะเป็นของความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1ได้ดีที่สุด และมีค่าอำนาจการทดสอบสูงกว่าสถิติ ทดสอบอื่น เมื่อตัวอย่างขนาดปานกลาง (20,30), (30,30) สถิติทดสอบวิลคอกสัน-แมน-วิทนีย์และ สถิติทดสอบบรุนเนอร์-มุนเซล สามารถควบคุมความน่าจะเป็นของความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ใกล้เคียงกัน และมีค่าอำนาจการทดสอบสูงกว่าสถิติทดสอบอื่นเมื่อตัวอย่างขนาดใหญ่(40,50), (60, 60), (100,100) สถิติทดสอบทุกตัว สามารถควบคุมความ น่าจะเป็นของความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ดีขึ้น และค่ามีอำนาจการทดสอบสูงขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ ( )--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

79 แผ่น : ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/473
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b180709.pdf ( 2,425.48 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [224]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×