• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

LoginRegister

การกำหนดตำแหน่งสิ่งอำนวยความสะดวกบนเส้นทางวงแหวนรอบกรุงเทพมหานคร

by โพยม เพียรล้ำเลิศ

Title:

การกำหนดตำแหน่งสิ่งอำนวยความสะดวกบนเส้นทางวงแหวนรอบกรุงเทพมหานคร

Other title(s):

Determination of locations of facilities on the ring road around Bangkok Metropolitan

Author(s):

โพยม เพียรล้ำเลิศ

Degree name:

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

สถิติประยุกต์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

[1975]

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การกำหนดพื้นที่บริเวณชานเมืองให้เป็นตำแหน่งที่ตั้งของสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการจราจรติดขัดในกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการผังนครหลวงได้กำหนดให้บริเวณเส้นทางคมนาคมรอบนอกของกรุงเทพมหานครหรือเส้นทางวงแหวนรอบนอกเป็นที่ตั้งของสิ่งอำนวยความสะดวกนอกเมือง จึงจำเป็นต้องศึกษาว่าบริเวณใดบนเส้นทางวงแหวนสมควรจะเป็นตำแหน่งของสิ่งอำนวยความสะดวก และศึกษาครอบคลุมไปถึงการตัดสินหาจำนวนสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสม ขนาดของสิ่งอำนวยความสะดวกแต่ละแห่ง ตลอดจนการจัดสรรการใช้บริการภายในระบบการจำแนกแจกแจง ปัจจัยที่นำมาศึกษาเพื่อกำหนดตำแหน่งของสิ่งอำนวยความสะดวกคือ ค่าใช้จ่ายในการกระจายสินค้า การสร้างตัวแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบการจำแนกแจกแจง เป็นการถ่ายทอดสภาวะของปัญหาที่เกิดขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของระบบซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยวิธีการทางคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่าค่าขนส่งบนเส้นทางวงแหวนไม่เป็นค่าใช้จ่ายที่ลดลงตามจำนวนสิ่งอำนวยความสะดวกในระบบตลอดไป แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากค่าใช้จ่ายขนส่งภายในเมืองมีปริมาณสูงกว่าค่าขนส่งบนเส้นทางวงแหวนมาก จึงทำให้ค่าใช้จ่ายในการขนส่งรวมในระบบเป็นค่าใช้จ่ายที่ลดลงตามจำนวนของสิ่งอำนวยความสะดวก ส่วนค่าใช้จ่ายจากสิ่งอำนวยความสะดวกซึ่งเป็นค่าเสื่อมของสิ่งก่อสร้างและค่าขนส่งสินค้า มีลักษณะที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามจำนวนของสิ่งอำนวยความสะดวกมากนัก ในการพิจารณาค่าใช้จ่ายรวมของระบบซึ่งรวมค่าใช้จ่ายในการขนส่ง และค่าใช้จ่ายจากสิ่งอำนวยความสะดวก ปรากฏว่าจะต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก 3 แห่ง เพื่อให้ค่าใช้จ่ายรวมในระบบมีค่าต่ำสุด

Description:

วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2518.

Subject(s):

การขนส่ง -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
เส้นทางวงแหวนรอบกรุงเทพฯ -- สิ่งอำนวยความสะดวก

Keyword(s):

สินค้า

Resource type:

Thesis

Extent:

[281] แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Access rights:

สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารฉบับเต็มเฉพาะ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เท่านั้น

Rights holder(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/476
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
nida-ths-b7618.pdf ( 3,170.26 KB )

Files in this item (EXCERPT)

Thumbnail
View
nida-ths-b7618ab.pdf ( 14.40 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [171]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

‹›×