การกำหนดเวลาบริการที่ดีที่สุดสำหรับระบบเวียนรับบริการ
Publisher
Issued Date
1976
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
160 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
พัชรศิริ สัจจพันธุ์ (1976). การกำหนดเวลาบริการที่ดีที่สุดสำหรับระบบเวียนรับบริการ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/478.
Title
การกำหนดเวลาบริการที่ดีที่สุดสำหรับระบบเวียนรับบริการ
Alternative Title(s)
Determination of the optimum quantum in the Round-Robin System
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบเวียนรับบริการ โดยศึกษาถึงการกำหนดเวลาบริการที่ดีที่สุดคือ เวลาบริการที่ทำให้ค่าเฉลี่ยของเวลารอคอยมีค่าน้อยที่สุดและทำการวิจัยทั้งกรณีที่เวลาสับเปลี่ยนเท่ากับศูนย์ และเวลาสับเปลี่ยนไม่เท่ากับศูนย์ ซึ่งเวลาสับเปลี่ยนคือเวลาที่สูญเสียไปในการนำเอาหน่วยที่รอรับบริการเข้าสู่แหล่งให้บริการและนำเอาหน่วยที่อยู่ในแหล่งให้บริการกลับต่อท้ายแถวเพื่อรอรับบริการในรอบต่อไป สำหรับกรณีเวลาสับเปลี่ยนเท่ากับศูนย์สามารถสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ของค่าเฉลี่ยของเวลารอคอยได้ แต่กรณีที่เวลาสับเปลี่ยนไม่เท่ากับศูนย์คือเป็นตัวแปรเชิงสุ่ม จะแบ่งพิจารณาเป็น 2 กรณีคือ (1) ไม่ให้มีหน่วยรับบริการใหม่เกิดขึ้นในระบบในช่วงเวลาสับเปลี่ยน และ (2) ให้มีหน่วยรับบริการใหม่เกิดขึ้นในระบบในช่วงเวลาสับเปลี่ยน สำหรับกรณีที่หนึ่งสามารถสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ของค่าเฉลี่ยเวลารอคอยได้ แต่ในกรณีที่สองการสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์เป็นไปด้วยความยากลำบากจึงใช้การจำลองด้วยเครื่องจักรคำนวณในการหาค่าเฉลี่ยของเวลารอคอย.
ในการหาเวลาบริการที่ดีที่สุดนั้น ในชั้นต้นใช้วิธีสร้างตัวแบบจำลองด้วยเครื่องจักรคำนวณ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ที่หาได้ แล้วจึงหาคำตอบที่ดีที่สุดจากตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ แต่สำหรับกรณีที่หาตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ไม่ได้ก็จะหาคำตอบที่ดีที่สุดจากการจำลอง.
ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ใช้ตัวอย่างเดียวกันในทุกกรณี ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบเวลาบริการที่ดีที่สุดและค่าต่ำสุดของเวลารอคอย.
ในการหาเวลาบริการที่ดีที่สุดนั้น ในชั้นต้นใช้วิธีสร้างตัวแบบจำลองด้วยเครื่องจักรคำนวณ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ที่หาได้ แล้วจึงหาคำตอบที่ดีที่สุดจากตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ แต่สำหรับกรณีที่หาตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ไม่ได้ก็จะหาคำตอบที่ดีที่สุดจากการจำลอง.
ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ใช้ตัวอย่างเดียวกันในทุกกรณี ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบเวลาบริการที่ดีที่สุดและค่าต่ำสุดของเวลารอคอย.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2519.