การใช้โปรแกรมสำเร็จรูประบบมินิแทบสำหรับเครื่องเบอร์โรส์ 1714
Publisher
Issued Date
1977
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
157 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
เลอสรรค์ โบสุวรรณ (1977). การใช้โปรแกรมสำเร็จรูประบบมินิแทบสำหรับเครื่องเบอร์โรส์ 1714. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/486.
Title
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูประบบมินิแทบสำหรับเครื่องเบอร์โรส์ 1714
Alternative Title(s)
Installation of MINI-TAB system for a B 1714 computer system
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ระบบโปรแกรม MINI-TAB ถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งมีส่วนความจำขนาดเล็ก จุดมุ่งหมายเพื่อจะจัดทำตารางของข้อมูลทางสังคมศาสตร์ซึ่งคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และโปรแกรมสำเร็จรูปที่ซับซ้อนกว่านี้ไม่ได้จัดเตรียมไว้ สำหรับผู้ที่คุ้นเคยกับงานเขียนโปรแกรมจะพบว่าโปรแกรม MINI-TAB นี้ สามารถที่จะเพิ่มเติมบางสิ่งบางอย่างได้ ทำให้สะดวกและคล่องตัว โปรแกรมนี้เขียนด้วยภาษาฟอร์ทราน ซึ่งการทำงานย่อมช้ากว่าโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาในระดับต่ำกว่า แต่สามารถนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เป็นส่วนมาก โดยมิต้องคำนึงถึงขนาด อายุ หรือแม้แต่บริษัทผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์เลย ขนาดของคอมพิวเตอร์มิได้จำกัดจำนวนของตัวอย่าง (Sample size) แต่อย่างใด โปรแกรมนี้สามารถทำงานได้กับตัวอย่างหลาย ๆ พันตัวอย่าง ส่วนที่จำกัดคือ จำนวนของตัวสถิติหรือตัวแปรช่วงข้อมูล (Data fields) และตารางที่ต้องการในการทำงานแต่ละครั้งเท่านั้น ซึ่งถ้ามีจำนวนมากจะทำให้ผลออกมาช้าและเสียเวลาคอมพิวเตอร์มาก ทำให้เปลืองค่าใช้จ่าย วิธีแก้ปัญหาก็คือต้องแบ่งจำนวนตารางออกเป็นส่วน ๆ แล้วแยกทำงานกันทีละส่วนจนครบที่ต้องการ ระบบโปรแกรมมินิแทบนี้เป็นประโยชน์ต่อนักเขียนโปรแกรมที่เพิ่งหัดใหม่และชำนาญงานมาแล้ว เนื่องจากเป็นระบบโปรแกรมง่าย ๆ ดังนั้นผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับกรรมวิธีข้อมูลมาก่อน หรือไม่มีความรู้ทางโปรแกรมเลยก็สามารถเรียนรู้ถึงระบบนี้ และสามารถนำไปใช้ได้ในเวลาไม่นานนัก สำหรับผู้ที่ชำนาญงานด้านโปรแกรมและคุ้นเคยกับภาษาฟอร์ทรานดีจะสามารถปรับโปรแกรมนี้ให้เป็นเครื่องมือที่ทำงานตามที่ตนต้องการได้ ซึ่งเท่ากับได้ออกแบบการทำงานของโปรแกรมด้วยตนเอง.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2520.