• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การปฏิบัติงานเวชระเบียนผู้ป่วยในกับการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลกลาง

by พิรุฬห์พร แสนแพง

Title:

การปฏิบัติงานเวชระเบียนผู้ป่วยในกับการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลกลาง

Other title(s):

Operation on medical records of in-patient and the request of money for the compensation of medical services : case study of Bangkok Metropolitan Administration General Hospital

Author(s):

พิรุฬห์พร แสนแพง

Advisor:

เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์)

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

สถิติประยุกต์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2012

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2012.15

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแรงจูงใจและความรู้ในการปฏิบัติงานเวช ระเบียนผู้ป่วยในที่เกี่ยวข้องกับการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบงานเวชระเบียน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จาก แพทย์เจ้าพนักงานเวชสถิติและเจาหน้าที่ศูนยประกันสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณาอัน ได้แก่ การแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และตารางไขว้ (Crosstab) ผลการศึกษาในส่วนของแรงจูงใจและการให้ความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเวช ระเบียนผู้ป่วยในพบว่าประมาณร้อยละ 60 ของแพทย์ให้ความสำคัญกับการสรุปคําวินิจฉัยใน ระดับมาก โดยแพทย์ส่วนใหญ่ให้ความสําคัญต่อภาระงาน คือ งานตรวจรักษา งานสรุปคํา วินิจฉัย งานสอนนักศึกษาแพทย์และงานบริหาร ตามลําดับ ร้อยละ 80 ของเจ้าพนักงานเวช สถิติให้ความสําคัญในการให้รหัสโรค-รหัสผ่าตัดและหัตถการ ในระดับมากที่สุด และมี ค่าตอบแทน เป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้รหัสโรค -รหัสผ่าตัด และหัตถการส่วนเจ้าหน้าที่ศูนย์ประกันสุขภาพ ร้อยละ 60 ให้ความสำคัญในการส่งข้อมูลชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ในระดับมาก และเห็นว่าการปฏิบัติงานส่งข้อมูลชดเชยค่าบริการทางการแพทย์เป็นหน้าที่ที่ต้องทํา สําหรับความรู้เรื่องการเบิกจ่ายค่าบรการทางการแพทย์ นั้ นแพทย์ส่วนใหญ่มีความรู้ใน ระดับมาก พบว่าข้อที่ตอบถูกมากที่สุดคือ หากทำการสรุปคำวินิจฉัยล่าช้า จะทำให้มีผลกระทบ ต่อรายรับของโรงพยาบาล แต่ก็ยังมแพทย์จํานวนไม่น้อยที่เข้าใจ ผู้ป่วยสิทธิต้นสังกัด ต้องส่งข้อมูลเบิกชดเชยภายใน 45 วัน ซึ่งในความเป็นจริงต้องส่งข้อมูลให้ทันภายใน 30 วันหลัง ผู้ป่วยจําหน่าย เจ้าพนักงานเวชสถิติส่วนใหญ่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าบริการ ทางการแพทย์ทุกข้อ ส่วนเจ้าหน้าที่ศูนย์ประกันสุขภาพส่วนใหญ่มีความรู้เรื่องการเบิกจ่าย ค่าบริการทางการแพทย์ในระดับมาก อย่างไรก็ดีกลุ่มที่มีความรู้เรื่องการบิกจ่ายค่าบริการทางการแพทย์มากที่สุดคือ เจ้าพนักงานเวชสถิติรองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ศูนย์ประกันสุขภาพ

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012

Subject(s):

เวชระเบียน
สารสนเทศทางการแพทย์

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

112 แผ่น ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/489
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b176364.pdf ( 2,788.30 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [224]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×