การศึกษาทัศนคติ การรับรู้ และพฤติกรรมการบริโภคตามกระแสเกาหลีนิยม
Publisher
Issued Date
2013
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
86 แผ่น : ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชญาณ ลำเภา (2013). การศึกษาทัศนคติ การรับรู้ และพฤติกรรมการบริโภคตามกระแสเกาหลีนิยม. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/499.
Title
การศึกษาทัศนคติ การรับรู้ และพฤติกรรมการบริโภคตามกระแสเกาหลีนิยม
Alternative Title(s)
The study of attitude, perception and behavior on Korean trends
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาทัศนคติการรับรู้และ พฤติกรรมการบริโภคกระแสแบบเกาหลีนิยม 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและ ปัจจัยในการบริโภคสินคาไทยแบบเกาหลีนิยม โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Method) ใช้วิธีการวิจัยแบบสำรวจ(Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล จากตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 20 – 60 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรีจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดปทุมธานีจำนวน 385 หน่วยตัวอย่าง ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิสองขั้นตอน ( Two–Stage Stratified Random Sampling) และสถิติ ที่ใช้คือสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบค่าเฉลี่ยแบบที่ (t–Test) การทดสอบความแปรปราน (ANOVA) การทดสอบค่าไคสแควร์และการวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิสหความสมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางประชากรที่สําคัญที่มีอิทธิพลต่อปัจจัยทางทัศนคติจะ ประกอบไปด้วย เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ สำหรับพฤติกรรมในการรับรู้กระแสจะมาจากสองช่องทางหลัก คือ สื่อโทรทัศน์-วิทยุและสื่อออนไลน์และกลุ่มที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ซื้อ คือ เพื่อน เมื่อทดสอบตัวแปรที่มีความสัมพั นธ์กันระหว่างทัศนคติต่างๆ และปัจจัยในการ ตัดสินใจซื้อพบว่า ปัจจัยด้านคุณค่าทางสังคมและการยอมรับจากคนรอบข้างเป็นปัจจัยสำคัญ ในเกือบทุกกลุ่มสินค้าและบริการ นอกจากี้พบว่า ทิศทางความตองการของกระแสการตลาดแบบเกาหลีนิยมยังอยู่ใน ทางบวกทุกกลุ่มสินค้าและบริการ โดยส่วนใหญ่เห็นว่ายังเป็นที่ต้องของตลาดอีกเป็นเวลา ไม่ต่ำกว่า 2 – 5 ปี
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ ( )--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,