• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

งานแปลงรูป (Transformative Works) 

by ชมพูนุช ศิริสวัสดิ์

Title:

งานแปลงรูป (Transformative Works) 

Other title(s):

Transformative works

Author(s):

ชมพูนุช ศิริสวัสดิ์

Advisor:

วริยา ล้ำเลิศ

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2018

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานแปลงรูป (Transformative Works) เป็นหลักการที่ถูกนำมาใช้ในการตัดสินคดีลิขสิทธิ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา แยกต่างหากจากงานดัดแปลง (Derivative Works) ซึ่งก่อให้เกิดการกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ เป็นการสร้างพื้นที่ให้แก่ผู้สร้างสรรค์ในการนำงานอันมีลิขสิทธิ์ไปดัดแปลงต่อยอดเป็นงานสร้างสรรค์ใหม่ได้ โดยต่อยอดมาจากงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์อยู่เดิม (Copyrighted Works)  โดยไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ การที่ประเทศสหรัฐอเมริกาใช้หลัก Transformative Works ดังกล่าวในการตัดสินคดีทำให้เห็นถึงมุมมองของกฎหมายลิขสิทธิ์ในแง่มุมของการคุ้มครองงานดัดแปลงที่กว้างขึ้น จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยไม่มีบทบัญญัติหรือหลักเกณฑ์ที่ให้ความคุ้มครองงานแปลงรูป (Transformative Works) โดยตรง จึงทำให้เกิดปัญหาในการใช้การตีความกฎหมายเมื่อเกิดคดีที่มีข้อเท็จจริงเกี่ยวข้องกับการแปลงรูปงาน (Transformative Works) ขึ้นสู่ศาล เสมือนเป็นช่องว่างของกฎหมายที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์ใดมาปรับใช้แก่กรณีได้โดยตรง บทความนี้จึงเสนอให้ประเทศไทยกำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับงานแปลงรูป (Transformative Works) เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาคดีของศาลต่อไป
Transformative works is a principle that has been used in a court procedure of the United States of America separately from derivative works. This urges creativity. This creates space for creators to use copyrighted work to create another work by producing from the original copyrighted works without considering as copyright infringement. The fact that the USA uses the Transformative Works principle in deciding the case enables us to see the viewpoint of copyright law in protecting Derivative Works more widely. From the study, it was found that Thailand has no provisions or criteria of protecting Transformative Works directly so this creates the problems of applying and interpreting the law when there is a case with the facts relating to Transformative Works to the court. This is like a gap in the law and there is no criteria that can be applied directly. Therefore, this article suggests Thailand to specify the definite criteria or operating guideline on Transformative Works so that it can be used in the court procedure in the future.

Description:

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561

Subject(s):

ลิขสิทธิ์
การใช้งานโดยธรรม

Keyword(s):

งานแปลงรูป
งานดัดแปลง
ลิขสิทธิ์
e-Thesis

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

126 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5033
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b208157.pdf ( 2,806.07 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [187]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×