• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ผลกระทบและอุปสรรคของกฎหมายไทยที่มีผลต่อการผลิตและการพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพบัญชีในการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

by ภาวนา อังสานานนท์

Title:

ผลกระทบและอุปสรรคของกฎหมายไทยที่มีผลต่อการผลิตและการพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพบัญชีในการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Other title(s):

The impact and obstacles of Thailand’s laws on production and potential development of professional accountants in moving into ASEAN Economic Community

Author(s):

ภาวนา อังสานานนท์

Advisor:

วริยา ล้ำเลิศ

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

กฎหมายและการจัดการ

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2016

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นแนวทางในการผลิตและพัฒนาศักยภาพ แรงงานวิชาชีพบัญชีของไทยเปรียบเทียบกับสิงคโปร์ ตลอดจนศึกษาผลกระทบที่มีต่อการผลิตและ พัฒนา เพื่อปรับข้อกฎหมายไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการผลิตและพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทย
ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ใช้เป็นแนวทางในการผลิตและพัฒนาศักยภาพนักบัญชี ได้แก่ 1. ปัจจัยด้านการศึกษา 2. ปัจจัยด้านองค์กรทางวิชาชีพ 3. ปัจจัยด้านกฎระเบียบ และสิงคโปร์มีจุด แข็งด้านองค์กรและกฎระเบียบที่ไทยควรน ามาปรับใช้ แต่ทว่าข้อกฎหมายไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการ ผลิตและพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทยมีดังนี้ 1. ปิดกั้นโอกาสการพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทย 2. บทบัญญัติบางประการมีช่องโหว่ 3. บัญญัติเกณฑ์ที่วัดผลการพัฒนานักบัญชีอย่างแท้จริงมิได้ 4. กฎเกณฑ์ไม่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพในระยะยาว 5. ขาดมิติทางการพัฒนาศักยภาพนักบัญชี และ 6. ขาดการบูรณาการหลักสูตรวิชาบัญชี
ผู้วิจัยมีข้อเสนอว่า 1. ควรปรับมาตรา 21(1) แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 มาตรา 39(2) มาตรา 45(1) (2) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เพื่อเติมเต็มแรงงานนัก บัญชีในสาขาที่ในไทย 2. เพิ่มเติมคุณสมบัติการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ท าบัญชี ในมาตรา 45 แห่ง พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ให้เป็นเช่นเดียวกับการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต เพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการของผู้ท าบัญชี 3. บัญญัติกฎหมายให้มีการจัดตั้งหน่วยงาน เฉพาะขึ้นเพื่อติดตามประเมินผล หลังได้อบรมความรู้ทางบัญชีอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี 4. บัญญัติ กฎหมายใหม่ให้เพิ่มจ านวนชั่วโมงในการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี 5. บรรจุ แนวทางในการพัฒนาแรงงานวิชาชีพทั้ง 8 กลุ่ม มาไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ 6. บูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาบัญชี โดยเพิ่มวิชาที่จะช่วยพัฒนาทักษะเสริม (Soft Skills) ให้มากขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (กฎหมายและการจัดการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

Subject(s):

นักบัญชี
การเคลื่อนย้ายแรงงาน -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Keyword(s):

แรงงานวิชาชีพบัญชี

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

185 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5045
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b194173.pdf ( 4,963.77 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [208]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×