ผลกระทบและอุปสรรคของกฎหมายไทยที่มีผลต่อการผลิตและการพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพบัญชีในการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
185 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b194173
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ภาวนา อังสานานนท์ (2016). ผลกระทบและอุปสรรคของกฎหมายไทยที่มีผลต่อการผลิตและการพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพบัญชีในการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5045.
Title
ผลกระทบและอุปสรรคของกฎหมายไทยที่มีผลต่อการผลิตและการพัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพบัญชีในการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Alternative Title(s)
The impact and obstacles of Thailand’s laws on production and potential development of professional accountants in moving into ASEAN Economic Community
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นแนวทางในการผลิตและพัฒนาศักยภาพ
แรงงานวิชาชีพบัญชีของไทยเปรียบเทียบกับสิงคโปร์ ตลอดจนศึกษาผลกระทบที่มีต่อการผลิตและ
พัฒนา เพื่อปรับข้อกฎหมายไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการผลิตและพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทย
ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ใช้เป็นแนวทางในการผลิตและพัฒนาศักยภาพนักบัญชี ได้แก่ 1. ปัจจัยด้านการศึกษา 2. ปัจจัยด้านองค์กรทางวิชาชีพ 3. ปัจจัยด้านกฎระเบียบ และสิงคโปร์มีจุด แข็งด้านองค์กรและกฎระเบียบที่ไทยควรน ามาปรับใช้ แต่ทว่าข้อกฎหมายไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการ ผลิตและพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทยมีดังนี้ 1. ปิดกั้นโอกาสการพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทย 2. บทบัญญัติบางประการมีช่องโหว่ 3. บัญญัติเกณฑ์ที่วัดผลการพัฒนานักบัญชีอย่างแท้จริงมิได้ 4. กฎเกณฑ์ไม่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพในระยะยาว 5. ขาดมิติทางการพัฒนาศักยภาพนักบัญชี และ 6. ขาดการบูรณาการหลักสูตรวิชาบัญชี
ผู้วิจัยมีข้อเสนอว่า 1. ควรปรับมาตรา 21(1) แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 มาตรา 39(2) มาตรา 45(1) (2) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เพื่อเติมเต็มแรงงานนัก บัญชีในสาขาที่ในไทย 2. เพิ่มเติมคุณสมบัติการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ท าบัญชี ในมาตรา 45 แห่ง พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ให้เป็นเช่นเดียวกับการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต เพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการของผู้ท าบัญชี 3. บัญญัติกฎหมายให้มีการจัดตั้งหน่วยงาน เฉพาะขึ้นเพื่อติดตามประเมินผล หลังได้อบรมความรู้ทางบัญชีอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี 4. บัญญัติ กฎหมายใหม่ให้เพิ่มจ านวนชั่วโมงในการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี 5. บรรจุ แนวทางในการพัฒนาแรงงานวิชาชีพทั้ง 8 กลุ่ม มาไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ 6. บูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาบัญชี โดยเพิ่มวิชาที่จะช่วยพัฒนาทักษะเสริม (Soft Skills) ให้มากขึ้น
ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ใช้เป็นแนวทางในการผลิตและพัฒนาศักยภาพนักบัญชี ได้แก่ 1. ปัจจัยด้านการศึกษา 2. ปัจจัยด้านองค์กรทางวิชาชีพ 3. ปัจจัยด้านกฎระเบียบ และสิงคโปร์มีจุด แข็งด้านองค์กรและกฎระเบียบที่ไทยควรน ามาปรับใช้ แต่ทว่าข้อกฎหมายไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการ ผลิตและพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทยมีดังนี้ 1. ปิดกั้นโอกาสการพัฒนานักวิชาชีพบัญชีไทย 2. บทบัญญัติบางประการมีช่องโหว่ 3. บัญญัติเกณฑ์ที่วัดผลการพัฒนานักบัญชีอย่างแท้จริงมิได้ 4. กฎเกณฑ์ไม่เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพในระยะยาว 5. ขาดมิติทางการพัฒนาศักยภาพนักบัญชี และ 6. ขาดการบูรณาการหลักสูตรวิชาบัญชี
ผู้วิจัยมีข้อเสนอว่า 1. ควรปรับมาตรา 21(1) แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 มาตรา 39(2) มาตรา 45(1) (2) แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เพื่อเติมเต็มแรงงานนัก บัญชีในสาขาที่ในไทย 2. เพิ่มเติมคุณสมบัติการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ท าบัญชี ในมาตรา 45 แห่ง พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ให้เป็นเช่นเดียวกับการขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต เพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการของผู้ท าบัญชี 3. บัญญัติกฎหมายให้มีการจัดตั้งหน่วยงาน เฉพาะขึ้นเพื่อติดตามประเมินผล หลังได้อบรมความรู้ทางบัญชีอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี 4. บัญญัติ กฎหมายใหม่ให้เพิ่มจ านวนชั่วโมงในการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี 5. บรรจุ แนวทางในการพัฒนาแรงงานวิชาชีพทั้ง 8 กลุ่ม มาไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ 6. บูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาบัญชี โดยเพิ่มวิชาที่จะช่วยพัฒนาทักษะเสริม (Soft Skills) ให้มากขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (กฎหมายและการจัดการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559