ภาพลักษณ์ความปลอดภัย การรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรมความภักดีของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในกรุงเทพมหานคร
Files
Publisher
Issued Date
2019
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
296 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b208162
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
บุนรดา ปัญญารักษ์ (2019). ภาพลักษณ์ความปลอดภัย การรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรมความภักดีของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5053.
Title
ภาพลักษณ์ความปลอดภัย การรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัย และพฤติกรรมความภักดีของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Safety image, perception of safety management and loyalty of Chinese free and independent travelers in Bangkok
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในมาตรการด้านการให้บริการ/ให้ความช่วยเหลือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความภักดีในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครมากที่สุด
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ความปลอดภัยในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการเดินทาง 2) เปรียบเทียบการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการเดินทาง และ 3) ศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อแนวโน้มพฤติกรรมความภักดีในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในกรุงเทพมหานครเป็นจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติเชิงอนุมาน Independent Samples t-test, การทดสอบค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการเดินทางต่างกันมีภาพลักษณ์ความปลอดภัยในภาพรวมไม่ต่างกัน แต่หากพิจารณารายด้านพบว่านักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีภูมิลำเนา รายได้ต่อเดือน ประเภทของผู้ร่วมเดินทาง และประสบการณ์ในการท่องเที่ยวต่างประเทศต่างกันมีภาพลักษณ์ความปลอดภัยในรายด้านที่แตกต่างกัน 2) นักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีสถานภาพ อาชีพ รายได้ต่อเดือน และจำนวนผู้ร่วมเดินทางต่างกันมีการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในภาพรวมที่แตกต่างกัน และ 3) นักท่องเที่ยวจีนประเภท The purposes of this study were to 1) compare the image safety of Chinese Free and Independent Travelers when traveling to Bangkok categorized by personal factors and traveling behavior, 2) compare the perception of safety management of Chinese Free and Independent Travelers when traveling to Bangkok categorized by personal factors and traveling behavior, and 3) examine the influence that the perception of safety management in tourism has on the tendency of loyalty of Chinese Free and Independent Travelers when traveling to Bangkok. This study was a quantitative study that comprised 400 samples of Chinese Free and Independent Travelers who traveled to Bangkok. The study employed a questionnaire as an instrument for data collection. The derived data was analyzed using SPSS where descriptive statistics was used to calculate the percentage, mean, and standard deviation. The hypothesis was tested using inferential statistics, Independent Samples t-test, One-Way ANOVA and multiple regression analysis. The findings indicated that 1) Chinese Free and Independent Travelers, who had different personal factors and traveling behaviors, image the overall safety indifferently. However, when looking closely at each dimension, it was found that Chinese Free and Independent Travelers with different hometown, monthly income, traveling companion, and overseas traveling experience had different image safety for each dimension, 2) Chinese Free and Independent Travelers with different status, career, monthly income, and number of traveling companion, in general, had different perception of safety management, and 3) Chinese Free and Independent Travelers, who were influenced by the perception of safety management on service/assistance measure, had the highest degree of loyalty in Bangkok tourism.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ความปลอดภัยในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการเดินทาง 2) เปรียบเทียบการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการเดินทาง และ 3) ศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อแนวโน้มพฤติกรรมความภักดีในการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระในกรุงเทพมหานครเป็นจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติเชิงอนุมาน Independent Samples t-test, การทดสอบค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการเดินทางต่างกันมีภาพลักษณ์ความปลอดภัยในภาพรวมไม่ต่างกัน แต่หากพิจารณารายด้านพบว่านักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีภูมิลำเนา รายได้ต่อเดือน ประเภทของผู้ร่วมเดินทาง และประสบการณ์ในการท่องเที่ยวต่างประเทศต่างกันมีภาพลักษณ์ความปลอดภัยในรายด้านที่แตกต่างกัน 2) นักท่องเที่ยวจีนประเภทท่องเที่ยวแบบอิสระที่มีสถานภาพ อาชีพ รายได้ต่อเดือน และจำนวนผู้ร่วมเดินทางต่างกันมีการรับรู้ต่อการจัดการความปลอดภัยในภาพรวมที่แตกต่างกัน และ 3) นักท่องเที่ยวจีนประเภท The purposes of this study were to 1) compare the image safety of Chinese Free and Independent Travelers when traveling to Bangkok categorized by personal factors and traveling behavior, 2) compare the perception of safety management of Chinese Free and Independent Travelers when traveling to Bangkok categorized by personal factors and traveling behavior, and 3) examine the influence that the perception of safety management in tourism has on the tendency of loyalty of Chinese Free and Independent Travelers when traveling to Bangkok. This study was a quantitative study that comprised 400 samples of Chinese Free and Independent Travelers who traveled to Bangkok. The study employed a questionnaire as an instrument for data collection. The derived data was analyzed using SPSS where descriptive statistics was used to calculate the percentage, mean, and standard deviation. The hypothesis was tested using inferential statistics, Independent Samples t-test, One-Way ANOVA and multiple regression analysis. The findings indicated that 1) Chinese Free and Independent Travelers, who had different personal factors and traveling behaviors, image the overall safety indifferently. However, when looking closely at each dimension, it was found that Chinese Free and Independent Travelers with different hometown, monthly income, traveling companion, and overseas traveling experience had different image safety for each dimension, 2) Chinese Free and Independent Travelers with different status, career, monthly income, and number of traveling companion, in general, had different perception of safety management, and 3) Chinese Free and Independent Travelers, who were influenced by the perception of safety management on service/assistance measure, had the highest degree of loyalty in Bangkok tourism.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562