• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • หน่วยงาน
  • สำนักบรรณสารการพัฒนา
  • In Processing
  • Dissertations, Theses, Term Papers
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

LoginRegister

The Spillover Effects of Global Economic Policy Uncertainty (GEPU) on Emerging Equity Markets: Evidence from Thailand

การส่งผ่านผลกระทบจากความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจต่างประเทศต่อตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย

by Asma Mora

Title:

The Spillover Effects of Global Economic Policy Uncertainty (GEPU) on Emerging Equity Markets: Evidence from Thailand
การส่งผ่านผลกระทบจากความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจต่างประเทศต่อตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย

Author(s):

Asma Mora

Contributor(s):

NIDA. School of Development Economics

Advisor:

Yuthana Sethapramote

Degree name:

Master of Economics (Business Economics)

Degree level:

Thesis

Degree discipline:

Master of Economics Program in Business Economics

Degree grantor:

National Institute of Development Administration

Issued date:

8/9/19

Publisher:

NIDA

Abstract:

          This paper examines the spillover effects of Global Economic Policy Uncertainty (GEPU) index and other global risk factors, i.e. CBOE Volatility Index (VIX index), oil prices and gold prices, on the Stock Exchange of Thailand (SET). The empirical results show that both GEPU and VIX indices has significant impacts on the returns of stock market in Thailand before 2010. After 2010, the effects of GEPU on the stock return are not statistically significant. However, the VIX index still significantly affect on the return and volatility of Thai stock market. These results provide supporting evidence that the VIX index is the most important indicators for the transmission of risks in international stock markets. However, the GEPU could also provide additional sources of spillover effects when GEPU move in the same direction with the VIX index. Furthermore, the spillover effects of VIX and GEPU are also found in the sectoral indices. The spillover effect of the resource sector is highest among the industrial indices in SET. Finally, this study examines the impact of GEPU and other global risk factors on the systematic risk of industry groups (or beta). Results confirm that GEPU and other global risk factors have a few significant impacts on the systematic risk of industry groups, which imply that global risk factors have significant influence on the total risk of industries than the systematic risk.
          การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการส่งผ่านผลกระทบของความเสี่ยงจากต่างประเทศในรูปของความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจโลก ที่มีต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยวิเคราะห์ทั้งในระดับดัชนีตลาดหลักทรัพย์โดยรวมและดัชนีรายอุตสาหกรรม ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงก่อนปี 2553 ดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจโลก และดัชนีความกลัว (VIX) สามารถอธิบายการส่งผ่านผลกระทบจากต่างประเทศมายังผลตอบแทนการลงทุนในตลาดฯ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ในช่วงหลังปี 2553 ซึ่งเป็นช่วงที่ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาเริ่มใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินเชิงปริมาณ (Quantitative Easing : QE) ดัชนี VIX มีการปรับตัวลดลงสวนทางกับดัชนีความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจโลกที่ยังคงมีค่าสูงตามความเสี่ยงทางการเมืองที่ยังคงสูงขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลก โดยในช่วงนี้ดัชนี VIX เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลกระทบมายังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งต่อผลตอบแทนและความผันผวนของการลงทุน ส่วนดัชนีความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจโลกไม่ส่งผลต่อการลงทุนในตลาดฯ อย่างมีนัยสำคัญในช่วงนี้ ซึ่งผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าดัชนี VIX เป็นตัวแปรสำคัญในการจับตาการส่งผ่านผลกระทบมายังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งในด้านผลตอบแทนและความผันผวนการลงทุน ส่วนดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจโลกมีบทบาทเสริมในการอธิบายการส่งผ่านผลกระทบในช่วงที่ปรับตัวไปพร้อมกับดัชนี VIX ทั้งนี้เมื่อพิจารณาพบว่าหลักทรัพย์กลุ่มทรัพยากรได้รับผลกระทบทั้งในด้านผลตอบแทนและความผันผวนการลงทุน จากทั้งดัชนี VIX และดัชนีความไม่แน่นอนทางนโยบายเศรษฐกิจโลกชัดเจนที่สุด ในส่วนของการวิเคราะห์ผลที่มีต่อความเสี่ยงที่เป็นระบบของหลักทรัพย์กลุ่มอุตสาหกรรมพบว่า ตัวแปรที่สะท้อนความเสี่ยงจากต่างประเทศที่ทำการศึกษาไม่ได้ส่งผลให้ความเสี่ยงที่เป็นระบบของหลักทรัพย์กลุ่มอุตสาหกรรมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแตกต่างจากความเสี่ยงโดยรวมของตลาดอย่างมีนัยยะ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปัจจัยเสี่ยงจากต่างประเทศส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงโดยรวมของการลงทุนในหลักทรัพย์แต่ละกลุ่มอุตสาหกรรม แต่ไม่ได้ทำให้หลักทรัพย์กลุ่มใดมีความเสี่ยงแตกต่างจากตลาดโดยรวมอย่างชัดเจน

Description:

NIDA, 2018

Subject(s):

Economics

Keyword(s):

ความไม่แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจโลก
การส่งผ่านผลกระทบระหว่างประเทศ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Type:

Thesis

Language:

th

Rights holder(s):

NIDA

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5057
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
5920312005.pdf ( 2,276.66 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • Dissertations, Theses, Term Papers [89]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

‹›×