นโยบายที่ดีที่สุดสำหรับการซื้อและขายสินค้าในกรณีที่อุปทานมีจำนวนจำกัด และอุปสงค์มีจำนวนไม่จำกัด
Publisher
Issued Date
1976
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
134 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
บรรเจิด อารีกุลชัย (1976). นโยบายที่ดีที่สุดสำหรับการซื้อและขายสินค้าในกรณีที่อุปทานมีจำนวนจำกัด และอุปสงค์มีจำนวนไม่จำกัด. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/509.
Title
นโยบายที่ดีที่สุดสำหรับการซื้อและขายสินค้าในกรณีที่อุปทานมีจำนวนจำกัด และอุปสงค์มีจำนวนไม่จำกัด
Alternative Title(s)
Optimal policy of buying and selling goods under the limitted supply and unlimitted demand
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์เล่มนี้เป็นการศึกษาเพื่อกำหนดนโยบายที่ดีที่สุด ในการซื้อและขายสินค้าโดยถือเอาผลกำไรสูงสุดเป็นเกณฑ์ตัดสิน ตัวแบบจำลองที่สร้างขึ้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับการค้าขายสินค้าทุกชนิด เมื่อโครงสร้างด้านการตลาดของสินค้าดังกล่าวมีอุปสงค์ไม่จำกัดและมีอุปทานจำกัด การเลือกคำตอบที่ดีที่สุดจากตัวแบบจำลองใช้เทคนิคการเลือกแบบพลวัตร (Dynamic programming) การประยุกต์ตัวแบบจำลองใช้กับปัญหาจริงในที่นี้ได้นำเอากรณีการค้าข้าวโพดส่งออกของประเทศไทยมาเป็นตัวอย่าง.
การวางนโยบายการค้าข้าวโพดในที่นี้มีลักษณะเป็น adaptive planning โดยทำการเปรียบเทียบผลกำไรสะสมสูงสุดในลักษณะต่าง ๆ กันคือ การวางนโยบายโดยอาศัยราคาซื้อขายที่เกิดขึ้นจริง การวางนโยบายโดยอาศัยราคาซื้อขายที่เกิดจากการพยากรณ์และในกรณีการใช้ราคาที่เกิดจากการพยากรณ์ได้มีการเปรียบเทียบผลของการวางนโยบายโดยทบทวนนโยบายทุก ๆ เดือน ทบทวนนโยบายทุก ๆ 2 เดือน ทบทวนนโยบายทุก ๆ 3 เดือน และไม่มีการทบทวนนโยบายเลย ผลของการเปรียบเทียบปรากฏว่า ถ้าต้นฤดูการค้า (เดือน ก.ค.) มีข้าวโพดอยู่ในสต๊อกน้อยกว่า 38,449.95 เมตริกตัน การวางนโยบายล่วงหน้าโดยอาศัยราคาพยากรณ์ที่ทบทวนนโยบายทุก ๆ 2 เดือน จะให้ผลกำไรสะสมทั้งปีใกล้เคียงกับการวางนโยบายโดยใช้ราคาซื้อขายที่เกิดขึ้นจริงมากที่สุด ถ้าต้นฤดูการค้ามีข้าวโพดอยู่ในสต๊อกจำนวนตั้งแต่ 38,449.95 เมตริกตัน จนถึงจำนวนเต็มโกดัง การวางนโยบายล่วงหน้าโดยอาศัยราคาพยากรณ์ที่ทบทวนนโยบายทุก ๆ เดือน จะให้ผลกำไรสะสมทั้งปีใกล้เคียงกับการวางนโยบายโดยใช้ราคาซื้อขายจริงมากที่สุด
การวางนโยบายการค้าข้าวโพดในที่นี้มีลักษณะเป็น adaptive planning โดยทำการเปรียบเทียบผลกำไรสะสมสูงสุดในลักษณะต่าง ๆ กันคือ การวางนโยบายโดยอาศัยราคาซื้อขายที่เกิดขึ้นจริง การวางนโยบายโดยอาศัยราคาซื้อขายที่เกิดจากการพยากรณ์และในกรณีการใช้ราคาที่เกิดจากการพยากรณ์ได้มีการเปรียบเทียบผลของการวางนโยบายโดยทบทวนนโยบายทุก ๆ เดือน ทบทวนนโยบายทุก ๆ 2 เดือน ทบทวนนโยบายทุก ๆ 3 เดือน และไม่มีการทบทวนนโยบายเลย ผลของการเปรียบเทียบปรากฏว่า ถ้าต้นฤดูการค้า (เดือน ก.ค.) มีข้าวโพดอยู่ในสต๊อกน้อยกว่า 38,449.95 เมตริกตัน การวางนโยบายล่วงหน้าโดยอาศัยราคาพยากรณ์ที่ทบทวนนโยบายทุก ๆ 2 เดือน จะให้ผลกำไรสะสมทั้งปีใกล้เคียงกับการวางนโยบายโดยใช้ราคาซื้อขายที่เกิดขึ้นจริงมากที่สุด ถ้าต้นฤดูการค้ามีข้าวโพดอยู่ในสต๊อกจำนวนตั้งแต่ 38,449.95 เมตริกตัน จนถึงจำนวนเต็มโกดัง การวางนโยบายล่วงหน้าโดยอาศัยราคาพยากรณ์ที่ทบทวนนโยบายทุก ๆ เดือน จะให้ผลกำไรสะสมทั้งปีใกล้เคียงกับการวางนโยบายโดยใช้ราคาซื้อขายจริงมากที่สุด
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2519.