• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการพนัน ความน่าจะเป็นเชิงอัตวิสัย โครงสร้างรางวัลของการชิงโชคและความตั้งใจซื้อ: การศึกษาเชิงทดลอง

by กัณตรัตน์ ปริเปรมกุล

Title:

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการพนัน ความน่าจะเป็นเชิงอัตวิสัย โครงสร้างรางวัลของการชิงโชคและความตั้งใจซื้อ: การศึกษาเชิงทดลอง

Other title(s):

Relationships between gambling behavior, subjective probability, prize structure of sweepstakes and willingness to purchase : an experimental study

Author(s):

กัณตรัตน์ ปริเปรมกุล

Advisor:

อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

สถิติประยุกต์

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2019

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองการทดลองรูปแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโครงสร้างรางวัลของการส่งเสริมการขายแบบชิงโชคที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้า โดยมีพฤติกรรมการพนันและความน่าจะเป็นเชิงอัตวิสัยเป็นตัวแปรร่วม (Covariates) โครงสร้างรางวัลของการชิงโชคในกลุ่มทดลองมี 4 รูปแบบคือ รางวัลใหญ่ที่สุดเพียงหนึ่งรางวัล รางวัลใหญ่ที่สุด 1 รางวัล และรางวัลย่อยหลายรางวัล รางวัลใหญ่หลายรางวัล รางวัลใหญ่หลายรางวัลและรางวัลย่อยหลายรางวัล และมีการส่งเสริมการขายแบบลดราคาเป็นกลุ่มควบคุม สุ่มผู้เข้าร่วมทดลองจำนวน 500 คน ผลการวิจัยพบว่า  โครงสร้างรางวัลที่มีสัดส่วนผู้ตั้งใจซื้อสินค้ามากที่สุดคือ รางวัลใหญ่หลายรางวัลและรางวัลย่อยหลายรางวัล (ร้อยละ 47) และเงื่อนไขการชิงโชคทุกรูปแบบรางวัลมีผู้ตั้งใจซื้อสินค้ามากกว่าเงื่อนไขการลดราคา ตัวแปรสัมพันธ์กับความตั้งใจซื้อสินค้าคือ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างรางวัลของการชิงโชคและพฤติกรรมการพนันโดยผู้ที่มีรายได้ต่ำและมีพฤติกรรมการพนันสูงมีแนวโน้มที่จะเข้าร่วมการชิงโชค
This completely randomized design (CRD) experimental research aims at investigating the effect of sweepstakes structure promotion on willingness to purchase where gambling behavior and subjective probability are covariates. Four types of sweepstakes structures are 1) grand prize only, 2) grand prize and many small prizes, 3) multiple large prizes, and 4) multiple large prizes and many small prizes where price discount with equal expected value as a control group. Five-hundred participants were randomly assigned to each condition. The results found that the multiple large prizes and many small prizes sweepstakes structure leads to highest willingness to purchase (47.1%). Moreover, all types of sweepstakes structure promotions willing to purchase greater than price discount. Education, monthly income and the interaction between sweepstakes structures and gambling behavior are related to willingness to purchase such that low income participants with high gambling behavior tend to participate in sweepstake.

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562

Subject(s):

การพนัน
การพนัน -- วิจัย

Keyword(s):

e-Thesis
การชิงโชค

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

61 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5134
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b210811.pdf ( 2,122.84 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [203]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Education Service Center | สำนักบริการการศึกษาและบรรณสาร
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×