รูปแบบการดำเนินชีวิต การรับรู้ข่าวสาร ความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จากข่าวสารทางทีวีออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
by ชฎาพร ทับคง
Title: | รูปแบบการดำเนินชีวิต การรับรู้ข่าวสาร ความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จากข่าวสารทางทีวีออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร |
Other title(s): | Lifestyle, perception, uses and gratification toward TV program on TV online of audience in Bangkok |
Author(s): | ชฎาพร ทับคง |
Advisor: | พัชนี เชยจรรยา |
Degree name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree level: | Master's |
Degree discipline: | นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม |
Degree department: | คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ |
Degree grantor: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
Issued date: | 2016 |
Digital Object Identifier (DOI): | 10.14457/NIDA.the.2016.72 |
Publisher: | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
Abstract: |
งานวิจัยนี้นำเสนอการศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิต การรับรู้ข่าวสาร ความพึงพอใจและ การใช้ประโยชน์จากข่าวสารทางทีวีออนไลน์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์ 5 ประการได้แก่ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับการ รับรู้ข่าวสารจากการใช้งานทีวีออนไลน์ของผู้ชม (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการ ดำเนินชีวิตกับความพึงพอใจจากการรับชมทีวีออนไลน์ของผู้ชม (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตกับ การนำไปใช้ประโยชน์จากใช้งานทีวีออนไลน์(4) เพื่อศึกษา ความสัมพนัธ์ระหว่างความพึงพอใจกับการใช้ประโยชน์จากทีวีออนไลน์ของผู้ชม (5) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สารกับความพึงพอใจจากการรับชมทีวีออนไลน์ของผู้ชม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่เคยใช้งานทีวีออนไลน์ในช่วง วัยรุ่นและวัยทำงาน อายุ15-49 ปี ที่อาศัย อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ตัวแปรที่ใช้ในการ วิจัยได้แก่รูปแบบการดำเนินชีวิตการรับรู้ข่าวสาร ความพึงพอใจและการใช้ประโยชน์จากข่าวสาร ทางทีวีออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยใช้การวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) เพื่อจัดกลุ่ม รูปแบบการดำเนินชีวิต และใช้สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบสมตติฐานการวิจัย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้จากการวิเคราะห์ปัจจัยด้านกิจกรรม ความสนใจและความคิดเห็น สามารถจัดกลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้ใช้งานทีวีออนไลน์ได้7กลุ่มดังนี้ (1)กลุ่มคิดบวก (2) กลุ่มก้าวทัน เทคโนโลยี(3)กลุ่มกอสซิปแฟชนั่ ทันสมัย (4)กลุ่มสังคมเพื่อนโซเชียล(5)กลุ่มบันเทิง มือถือจอ (6)กลุ่มสนใจรอบด้าน (7)กลุ่มรักครอบครัว โดยจากกลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตทั้ง 7 กลุ่มน้ัน ส่วนใหญ่เป็นไปตามสมติฐานที่ต้ังไว้โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ในระดับ 0.05 และ นัยสำคัญทางสถิติในระดับ 0.01 |
Description: |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559 |
Subject(s): | โทรทัศน์
การดำเนินชีวิต ข่าว อินเทอร์เน็ต |
Resource type: | วิทยานิพนธ์ |
Extent: | 113 หน้า |
Type: | Text |
File type: | application/pdf |
Language: | tha |
Rights: | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) |
URI: | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5239 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
This item appears in the following Collection(s) |
|
|