รูปแบบขบวนเรืออุตมะในการสกัดจับการลักลอบหนีศุลกากรทางทะเลโดยการลาดตระเวนแบบแล่นเรียงตามกัน
Publisher
Issued Date
1977
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
142 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สญชัย สุขะจูทะ (1977). รูปแบบขบวนเรืออุตมะในการสกัดจับการลักลอบหนีศุลกากรทางทะเลโดยการลาดตระเวนแบบแล่นเรียงตามกัน. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/523.
Title
รูปแบบขบวนเรืออุตมะในการสกัดจับการลักลอบหนีศุลกากรทางทะเลโดยการลาดตระเวนแบบแล่นเรียงตามกัน
Alternative Title(s)
Optimal pattern of ocean-smuggling interception by tandem directional patrolling
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อสร้างระบบการป้องกันและปราบปรามทางทะเลบริเวณอ่าวไทยที่มีประสิทธิภาพภายใต้ข้อจำกัดของจำนวนเรือ และขีดความสามารถของเรือ เพื่อให้เห็นประโยชน์ของการนำเอาแบบจำลองของคณิตศาสตร์มาประยุกต์เข้ากับสถานการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ๆ เพื่อแก้ไขสถานการณ์และปัญหาที่กำลังประสพอยู่ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาและพัฒนาระบบการป้องกันและปราบปรามการลักลอบหนีศุลกากรทางทะเลในอนาคต โดยศึกษาเปรียบเทียบค่าคาดหมายของจำนวนครั้งในการตรวจจับ เมื่อจัดให้เรือลาดตระเวณเป็นแถวตอน โดยใช้เรือลาดตระเวณ 1 ลำ 2 ลำ และ 3 ลำ ในกรณีที่มีเรือลาดตระเวณมากกว่า 1 ลำ เรือแต่ละลำจะจัดให้อยู่ห่างกัน เพื่อให้ค่าคาดหมายของจำนวนครั้งในการตรวจจับมีค่าสูงสุด
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2520.