• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Dissertations
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Dissertations
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

องค์กรหลักที่ใช้อำนาจอธิปไตยในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศตามหลักกฎหมายในและกฎหมายระหว่างประเทศ

by เกียรติพร อำไพ

Title:

องค์กรหลักที่ใช้อำนาจอธิปไตยในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศตามหลักกฎหมายในและกฎหมายระหว่างประเทศ

Other title(s):

The branch of government exercising the treaty making power in domestic and international law

Author(s):

เกียรติพร อำไพ

Advisor:

สุนทร มณีสวัสดิ์

Degree name:

นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต

Degree level:

Doctoral

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2016

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2016.161

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำกำไรศึกษาถึงการปฏิรูปบทบัญญัติรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับ การใช้อำนาจและกระบวนการในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ว่าบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญมีผลอย่างไรต่อภาวะวิกฤติเกี่ยวกับ การทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น การศึกษาในครั้งนี้ให้ความสำคัญกับหลักกำรเกี่ยวกับการใช้อำนาจอธิปไตยของรัฐที่ใช้โดย ฝ่ายบริหารซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ว่าด้วยอำนาจในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ หลักการแบ่งแยกอำนาจและหลักการตรวจสอบถ่วงดุล รวมทั้งการใช้อำนาจระหว่างฝ่ายบริหารในฐานะที่เป็น องค์กรหลักที่ใช้อำนาจในการทำความตกลงระหว่างประเทศ ในขณะที่ฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งเป็นองค์กร รองที่เข้ามามีบทบาทร่วมกับฝ่ายบริหารในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศในกระบวนการให้ ความเห็นชอบกับการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศที่ดำเนินการโดยฝ่ายบริหาร นอกจากนั้น ใน การศึกษายังได้ให้ความสำคัญกับการใช้อำนาจในการตรวจสอบการขัดแย้งจากการใช้อำนาจในการทำหนังสือสัญญาระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารโดยศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองซึ่งเกิดขึ้น ในอดีตที่ผ่านมาด้วยเช่นกัน จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เกิดขึ้นจากปัจจัยหลายประการไม่ว่าจะเป็นทั้งจากปัญหาที่ว่า ด้วยเข้าใจในเชิงหลักการที่ถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจในการทำหนังสือสัญญาระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่าย นิติบัญญัติก็ดี ปัญหาเกี่ยวกับการใช้อำนาจและกระบวนการในการก่อนทำหนังสือสัญญาของฝ่าย บริหารภายใต้หลักการการมีส่วนร่วมของฝ่ายนิติบัญญัติ หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้ง หลักการตรวจสอบถ่วงดุลโดยองค์กรตุลาการ ทั้งนี้ ข้อขัดข้องที่เกิดขึ้นจากปัจจัยดังกล่าวนำไปสู่ข้อ ขัดแย้งเกี่ยวกับการใช้อำนาจในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศระหว่างองค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งส่งผลกระทบต่อกำรส่งเสริมควำมสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างประเทศไทยกับรัฐต่างประเทศ ยิ่งไปกว่านั้น จากการศึกษายังพบว่าการปฏิรูปบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญของประเทศไทยเกี่ยวกับ กระบวนการในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสนอกรอบการเจรจำ เพื่อขอความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ หรือแม้แต่การให้ข้อมูลต่อภาคประชาชนในระหว่าง กระบวนการที่เกิดขึ้นในการเจรจาเพื่อทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ หาได้เป็นสอดคล้องกับแนวคิดที่ว่าด้วยอำนาจในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ และจากการศึกษาเปรียบเทียบแนว ปฏิบัติของรัฐต่างประเทศกลับไม่พบว่ามีการกำหนดหน้าที่ของฝ่ายบริหารที่จะต้องดำเนินการดังกล่าว เฉกเช่นที่ประเทศไทยกำหนดไว้แต่อย่างใด ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ก็คือ ประเทศไทยจำเป็นต้องทำกรปฏิรูปบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้อำนาจและบทบาทของฝ่ายบริหารก็ดี การแก้ไขประเภทของ หนังสือสัญญาระหว่างประเทศก็ดี การปฏิรูปกระบวนการมีส่วนร่วมของฝ่ายนิติบัญญัติและประชาชน ก็ดี รวมทั้งยังต้องเร่งให้มีการตรากฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ นอกจากนั้น องค์กรตามรัฐธรรมนูญควรที่จะให้ความสำคัญและเคารพต่อหลักการและทฤษฎี กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจในการทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้ความสำคัญกับการเคารพต่ออำนาจอธิปไตยที่ใช้ในการหนังสือสัญญาระหว่างประเทศของฝ่าย บริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ

Description:

วิทยานิพนธ์ (น.ด.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

Subject(s):

สัญญาระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ
อำนาจอธิปไตย

Keyword(s):

หนังสือสัญญาระหว่างประเทศ

Resource type:

ดุษฎีนิพนธ์

Extent:

470 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5290
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b195712.pdf ( 6,290.47 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Dissertations [35]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×