อำนาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาตามหลักประชาธิปไตยที่เหมาะสมกับประเทศไทย
Files
Publisher
Issued Date
2016
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
224 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b195709
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ประภาศรี ฤกษ์อุดมสิน (2016). อำนาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาตามหลักประชาธิปไตยที่เหมาะสมกับประเทศไทย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5293.
Title
อำนาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาตามหลักประชาธิปไตยที่เหมาะสมกับประเทศไทย
Alternative Title(s)
The powers, duties and qualifications for senators in democratic system that is applicable in Thailand
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์นี้มุ่งหมายศึกษาอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาในอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อทราบถึงปัญหาการกําหนดอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาในอดีตที่ไมสอดคล้องกับหลัก ประชาธิปไตยและสังคมการเมืองของไทย ซึ่งส่งผลถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของวุฒิสภา ผลการศึกษาพบว่า วุฒิสภาเป็นองค์กรที่ใช้อํานาจนิติบัญญัติและมีความสําคัญต่อการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การกําหนดอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาจึงมี ความสําคัญในการเข้าสู่การดํารงตําแหน่งของผู้ใช้อํานาจนิติบัญญัติซึ่งในอดีตนั้น ปัญหาของการ กําหนดอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาที่ไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตยและสังคม การเมืองของไทย ทําให้วุฒิสภาไม่มีความเป็นอิสระจากการเมือง ส่งผลต่อการใช้อํานาจหน้าที่ของ วุฒิสภาที่ไม่สามารถเป็นองค์กรตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อํานาจรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม หลักการแบ่งแยกอํานาจได้ การกําหนดอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาให้เป็นไปตามหลักประชาธิปไตยอันเป็น รากฐานของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเพียงอย่างเดียว อาจไม่สอดคล้องกับสังคม การเมืองของประเทศนั้น วัตถุประสงค์หรือภารกิจขององค์กรวุฒิสภาก็ไม่อาจบรรลุผลได้อย่างไรก็ ตาม การกําหนดอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาที่คํานึงถึงสภาพสังคมการเมืองของประเทศ โดยไม่เป็นไปตามหลักพื้นฐานสําคัญของประชาธิปไตยแล้ว องค์กรการเมืองนั้นก็ไม่อาจเป็นองค์กร ตามระบอบประชาธิปไตยได้ดังนั้น การออกแบบอํานาจหน้าที่และคุณสมบัติของวุฒิสภาให้ทําหน้าที่ ตรวจสอบถ่วงดุลระหว่างองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสังคมและ การเมืองของประเทศโดยต่องวางอยู่บนหลักพื้นฐานของประชาธิปไตยด้วย
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559